27 พฤศจิกายน 2566
สถาบันการเงิน
... อ่านต่อ
FileSize KB
18 ตุลาคม 2566
25 กันยายน 2566
18 สิงหาคม 2566
31 กรกฎาคม 2566
27 กรกฎาคม 2566
17 กรกฎาคม 2566
23 พฤษภาคม 2566
11 เมษายน 2566
ธุรกิจแบงก์ไทยไตรมาส 1/2566...แม้รายได้หลักขยายตัวได้ แต่ยังต้องระวังปัญหาหนี้เสีย ... อ่านต่อ
3 เมษายน 2566
25 มีนาคม 2566
21 กุมภาพันธ์ 2566
ศูนย์วิจัยกสิกรไทยทำการศึกษาผลกระทบจากการเพิ่มขึ้นของหนี้ครัวเรือนในบริบทของประเทศไทย พบข้อสรุปที่สอดคล้องกับการศึกษาของ BIS กล่าวคือ การเพิ่มขึ้นของหนี้ครัวเรือนส่งผลกระทบเชิงบวกต่อการบริโภคในระยะสั้น แต่จะลดศักยภาพการเติบโตของการบริโภคของครัวเรือนในระยะยาว ซึ่งหมายความว่า สัดส่วนหนี้ครัวเรือนไทยต่... อ่านต่อ
24 มกราคม 2566
คาดกนง. ปรับขึ้นดอกเบี้ยนโยบายต่อเนื่องจากปีก่อนอีกร้อยละ 0.25 มาอยู่ที่ระดับ 1.50% ท่ามกลางแรงกดดันด้านเงินเฟ้อที่ยังอยู่ในระดับสูง ขณะที่เศรษฐกิจไทยมีแนวโน้มฟื้นตัวดีขึ้นต่อเนื่อง... อ่านต่อ
30 ธันวาคม 2565
ศูนย์วิจัยกสิกรไทย มองว่า แนวโน้มการชำระเงินผ่านช่องทางออนไลน์ของผู้บริโภคไทยยังคงขยายตัวต่อเนื่อง และคาดว่า ในปี 2566 ปริมาณธุรกรรมผ่านช่องทางออนไลน์อย่างInternet Banking, Mobile Banking, และ e-Money น่าจะมีสัดส่วนแตะร้อยละ 95 ของปริมาณธุรกรรมทั้งหมด โดยมีปริมาณธุรกรรม 36,510 – 37,970 ล้านรายการ หร... อ่านต่อ
21 ธันวาคม 2565
หลังจากที่แบงก์ไทยดำเนินธุรกิจผ่านปี 2565 โดยผ่านคลื่นลมของความท้าทายมาหลากหลายเรื่อง ไม่ว่าจะเป็นการแก้ปัญหาหนี้สำหรับลูกหนี้ที่ประสบปัญหาทางการเงินตั้งแต่ช่วงวิกฤตโควิด-19 การปรับเกณฑ์ต่างๆ ของทางการจากที่เน้นมาตรการแบบปูพรมและช่วยเหลือสถาบันการเงินที่ช่วยเหลือลูกหนี้ มาเป็นมาตรการเฉพาะจุด และทยอย... อ่านต่อ
28 พฤศจิกายน 2565
ในการประชุมกนง. ที่จะถึงนี้ ซึ่งเป็นการประชุมกนง. ครั้งสุดท้ายของปีนี้ คาดว่ากนง. จะปรับขึ้นดอกเบี้ยนโยบายที่ร้อยละ 0.25 มาอยู่ที่ระดับ 1.25% ท่ามกลางแรงกดดันจากเงินเฟ้อที่ยังอยู่ในระดับสูง ขณะที่เศรษฐกิจไทยมีแนวโน้มฟื้นตัวได้อย่างต่อเนื่อง ... อ่านต่อ
24 พฤศจิกายน 2565
ปี 2565 ถือว่าเป็นปีที่เศรษฐกิจไทยผ่านพ้นจุดต่ำสุดหลังจากได้รับผลกระทบจากไวรัสโควิด-19 ติดต่อกันหลายปี ซึ่งในหลักการแล้ว การฟื้นตัวทางเศรษฐกิจควรจะเป็นปัจจัยหนุนการลงทุนในสินทรัพย์เสี่ยง อย่างไรก็ตาม ในความเป็นจริง บรรยากาศการลงทุนในปีนี้กลับค่อนข้างผันผวน โดยเฉพาะสินทรัพย์ที่มีความเสี่ยงสูงกว่าปกติ... อ่านต่อ
21 พฤศจิกายน 2565
หลังจากที่คณะกรรมการนโยบายการเงิน (กนง.) เริ่มปรับขึ้นอัตราดอกเบี้ยนโยบาย ตั้งแต่รอบการประชุมเดือนสิงหาคมและกันยายน 2565 ครั้งละ 0.25% รวมเป็น 0.50% จนทำให้ปัจจุบัน อัตราดอกเบี้ยนโยบายของไทยยืนอยู่ที่ 1.00% นั้น ธนาคารพาณิชย์ขนาดใหญ่ส่วนใหญ่ยังไม่ได้ปรับอัตราดอกเบี้ยตามในทันทีในระยะแรกๆ อย่างไรก็ดี ... อ่านต่อ
16 พฤศจิกายน 2565
ในการประชุม APEC ในปี 2565 นี้ สะท้อนความพยายามในการผลักดันเศรษฐกิจและสังคมของประเทศสมาชิกไปสู่ทิศทางแห่งความยั่งยืน โดยเติบโตอย่างมีส่วนร่วม (Inclusive Growth) ซึ่งหนึ่งแนวทางผลักดันคือการสนับสนุนให้กลุ่มคนต่างๆ ของสังคมเข้าถึงบริการทางการเงินในระบบ (Financial Inclusion)... อ่านต่อ
11 พฤศจิกายน 2565
สถานการณ์ล่าสุด เงินบาทพลิกแข็งค่าหลุดแนว 36.00 บาทต่อดอลลาร์ฯ ไปแตะระดับแข็งค่าสุดในรอบเกือบ 3 เดือนที่ 35.70 บาทต่อดอลลาร์ฯ (11 พ.ย. 2565) ท่ามกลางแรงขายเงินดอลลาร์ฯ จากการคาดการณ์ว่า เฟดอาจปรับลดขนาดการขึ้นดอกเบี้ยให้มีความแข็งกร้าวน้อยลงในการประชุม FOMC รอบถัดๆ ไป ... อ่านต่อ
17 ตุลาคม 2565
ศูนย์วิจัยกสิกรไทย คาดว่า กิจกรรมทางเศรษฐกิจที่ทยอยฟื้นตัวขึ้นหลังการคลายล็อกดาวน์ จะช่วยหนุนการเติบโตของรายได้หลักของธุรกิจธนาคารพาณิชย์ในไตรมาส 3/2565 ทั้งในส่วนของรายได้ดอกเบี้ยและรายได้ค่าธรรมเนียม ... อ่านต่อ
3 ตุลาคม 2565
แม้ยอดคงค้างเงินกู้ยืมของครัวเรือนจะขยับขึ้นสู่ระดับ 14.76 ล้านล้านบาทในไตรมาส 2/2565 แต่ก็มีอัตราการเติบโตที่ชะลอลงตลอดในช่วงหลายไตรมาสที่ผ่านมา โดยเฉพาะการชะลอตัวในส่วนของหนี้ที่เกิดจากสินเชื่อก้อนใหญ่ เช่น หนี้บ้าน หนี้ประกอบอาชีพ และหนี้รถ ... อ่านต่อ
27 กันยายน 2565
ในการประชุมกนง. ที่จะถึงนี้ คาดว่ากนง. จะปรับขึ้นดอกเบี้ยนโยบายที่ร้อยละ 0.25 มาอยู่ที่ระดับ 1.00% ท่ามกลางแรงกดดันจากเงินเฟ้อที่ยังอยู่ในระดับสูงและค่าเงินบาทที่อ่อนค่าอย่างต่อเนื่อง อย่างไรก็ดี กนง. คงจะยังทยอยปรับขึ้นดอกเบี้ยอย่างค่อยเป็นค่อยไปตามที่ได้ส่งสัญญาณไว้ก่อนหน้า ท่ามกลางเศรษฐกิจไทยที่ก... อ่านต่อ
21 กันยายน 2565
เงินบาททดสอบแนว 37.20 บาทต่อดอลลาร์ฯ ซึ่งเป็นระดับอ่อนค่าสุดในรอบเกือบ 16 ปีครั้งใหม่ท่ามกลางสัญญาณการเร่งปรับขึ้นอัตราดอกเบี้ยนโยบายของธนาคารกลางสหรัฐฯ (เฟด) ... อ่านต่อ
13 กันยายน 2565
ศูนย์วิจัยกสิกรไทย มองว่า ในปี 2565 การทำการตลาดสินเชื่อส่วนบุคคลดิจิทัลตามนิยามของธนาคารแห่งประเทศไทยที่ใช้ข้อมูลทางเลือก (Alternative data) ในการพิจารณาสินเชื่อ คงมีลักษณะของการ “ทยอยเติบโต” มากกว่า โดยมียอดคงค้างที่ไม่สูงมากนัก ประมาณ 7,920 – 8,500 ล้านบาท หรือคิดเป็นสัดส่วนเพียงร้อยละ 1 ของยอดคง... อ่านต่อ
8 สิงหาคม 2565
ในการประชุมกนง. ที่จะถึงนี้ คาดว่ากนง. จะปรับขึ้นดอกเบี้ยนโยบายที่ร้อยละ 0.25 มาอยู่ที่ระดับร้อยละ 0.75 ท่ามกลางแรงกดดันจากเงินเฟ้อที่ยังอยู่ในระดับสูง ขณะที่ เศรษฐกิจไทยมีแนวโน้มฟื้นตัวได้อย่างต่อเนื่อง จึงส่งผลให้กนง. มีแนวโน้มที่จะทยอยถอนคันเร่งทางเศรษฐกิจอย่างค่อยเป็นค่อยไป เศรษฐกิจไทยยังคงเผชิญ... อ่านต่อ
27 กรกฎาคม 2565
สัญญาณจากผลการประชุม กนง. เดือนมิ.ย. ที่ผ่านมา สะท้อนว่า ไทยคงเข้าใกล้จังหวะการเริ่มปรับขึ้นของอัตราดอกเบี้ยนโยบายแล้ว และจากแรงกดดันเงินเฟ้อของไทยที่อยู่ในระดับสูงทำให้น่าจะมีการปรับขึ้นดอกเบี้ยในช่วงที่เหลือของปีนี้และเพิ่มเติมอีกในช่วงต้นปี 2566 ... อ่านต่อ
26 กรกฎาคม 2565
การเงินเพื่อความยั่งยืนทั่วโลกมีการเจริญเติบโตอย่างก้าวกระโดด โดยตราสารหนี้เพื่อความยั่งยืนในปี 2021 มีมูลค่า 929,700 ล้านเหรียญสหรัฐฯ ซึ่งเติบโต 10 เท่าในช่วง 5 ปีที่ผ่านมา ในขณะมูลค่าสินเชื่อเพื่อความยั่งยืนในปี 2021 มีมูลค่า 716,561 ล้านเหรียญสหรัฐฯ หรือเติบโต 7 เท่าจากปี 2018 ขณะที่ประเทศไทย ณ ไ... อ่านต่อ
15 กรกฎาคม 2565
ศูนย์วิจัยกสิกรไทย ประเมินว่า รายได้จากธุรกิจหลักของธนาคารพาณิชย์ยังคงอ่อนแอในไตรมาสที่ 2/2565 โดยเฉพาะรายได้ที่มิใช่ดอกเบี้ยซึ่งถูกกดดันจากความเปราะบางของสภาพแวดล้อมทางเศรษฐกิจ และผลกระทบจากความผันผวนของตลาดทุนต่อพอร์ตการลงทุน ส่วนรายได้ดอกเบี้ยสุทธิและ NIM นั้น อาจขยับขึ้นเพียงเล็กน้อยตามการเติบโต... อ่านต่อ