Display mode (Doesn't show in master page preview)

บทวิเคราะห์เศรษฐกิจ

20 มีนาคม 2566

เศรษฐกิจต่างประเทศ

การประชุม FOMC วันที่ 21 – 22 มี.ค. คาดเฟดมีแนวโน้มขึ้นดอกเบี้ยนโยบายอีกร้อยละ 0.25 ท่ามกลางเงินเฟ้อที่ยังอยู่ในระดับสูง (มองเศรษฐกิจ ฉบับที่ 3994)

การประชุม FOMC วันที่ 21 – 22 มี.ค. คาดเฟดมีแนวโน้มขึ้นดอกเบี้ยนโยบายอีกร้อยละ 0.25 ท่ามกลางเงินเฟ้อที่ยังอยู่ในระดับสูง ขณะที่เฟดคงส่งสัญญาณให้ความเชื่อมั่นต่อตลาดการเงินว่าประเด็นธนาคารสหรัฐฯ ปิดกิจการจะไม่ก่อให้เกิดปัญหาเชิงระบบในวงกว้าง... อ่านต่อ

14 มีนาคม 2566

เศรษฐกิจต่างประเทศ

ส่องมาตรการรับมือปัญหาแบงก์ในสหรัฐฯ ... ทำไมถึงไม่เรียกว่าเป็นการ Bailout แบงก์ (กระแสทรรศน์ ฉบับที่ 3388)

ส่องมาตรการรับมือปัญหาแบงก์ในสหรัฐฯ ... ทำไมถึงไม่เรียกว่าเป็นการ Bailout แบงก์... อ่านต่อ

13 มีนาคม 2566

เศรษฐกิจต่างประเทศ

ปัญหาแบงก์ในสหรัฐฯ ล้ม...กระทบไทยจำกัด แต่ตลาดเงินยังผันผวนอีกระยะ (กระแสทรรศน์ ฉบับที่ 3385)

เป็นที่แน่นอนว่า ปัญหาของธนาคารพาณิชย์ในสหรัฐฯ รอบนี้ไม่มีสถานการณ์ Too Big to Fail เกิดขึ้น เพราะมีการปิดตัวลงจริงของสถาบันการเงินที่เผชิญปัญหา ขณะหน่วยงานของทางการสหรัฐฯ และธนาคารกลางสหรัฐฯ เร่งออกมาตรการมุ่งเป้าดูแลในส่วนของผู้ฝากเงินและสถาบันการเงินอื่นๆ ที่ยังดำเนินการอยู่เพื่อสกัดไม่ให้ผลกระทบ... อ่านต่อ

27 มกราคม 2566

เศรษฐกิจต่างประเทศ

การประชุม FOMC รอบแรกของปี วันที่ 31 ม.ค. - 1 ก.พ. 66 คาดเฟดปรับขึ้นดอกเบี้ยนโยบายในอัตราที่ชะลอลงที่ร้อยละ 0.25 หลังเงินเฟ้อมีทิศทางอ่อนแรงลง (มองเศรษฐกิจ ฉบับที่ 3991)

คาดเฟดปรับขึ้นดอกเบี้ยนโยบายในอัตราที่ชะลอลงที่ร้อยละ 0.25 หลังเงินเฟ้อมีทิศทางอ่อนแรงลง อย่างไรก็ดี เส้นทางดอกเบี้ยนโยบายในระยะข้างหน้าคงขึ้นอยู่กับข้อมูลเศรษฐกิจและเงินเฟ้อที่ออกมาเป็นสำคัญ... อ่านต่อ

17 มกราคม 2566

เศรษฐกิจต่างประเทศ

โควิดเป็นศูนย์กดดันเศรษฐกิจจีนปี 2565 โตที่ 3.0% ต่ำที่สุดในรอบกว่า 50 ปี (มองเศรษฐกิจ ฉบับที่ 3987)

ในปี 2566 เศรษฐกิจจีนมีแนวโน้มฟื้นตัวดีขึ้นจากการยกเลิกนโยบายโควิดเป็นศูนย์ แต่คาดว่าระดับการเติบโตจะยังคงต่ำกว่าช่วงก่อนเกิดโควิด-19 ท่ามกลางความเสี่ยงจากภาคอสังหาริมทรัพย์และปัญหาทางรัฐภูมิศาสตร์ที่ยังคงอยู่... อ่านต่อ

29 ธันวาคม 2565

เศรษฐกิจต่างประเทศ

รถไฟความเร็วสูงจีน-สปป.ลาว ก้าวสู่ปีที่ 2 .. เตรียมรับอานิสงส์จีนผ่อนคลายมาตรการโควิดเป็นศูนย์

รถไฟฟ้าความเร็วสูงจีน-สปป.ลาวก้าวเข้าสู่ปีที่ 2 การขนส่งสินค้าระหว่างจีนตอนใต้กับอาเซียนน่ามีพัฒนาการคึกคักขึ้นอีก ประกอบกับสัญญาณบวกของทางการจีนในการทยอยผ่อนคลายมาตรการโควิดเป็นศูนย์ที่คาดว่าน่าจะได้เห็นการเปิดประเทศของจีนในปี 2566 จะยิ่งส่งผลบวกต่อการค้าและการท่องเที่ยวตลอดเส้นทาง... อ่านต่อ

21 ธันวาคม 2565

เศรษฐกิจต่างประเทศ

EU เตรียมใช้ CBAM 1 ตุลาคม 2566 (มองเศรษฐกิจ ฉบับที่ 3983)

ที่ประชุมสมาชิกรัฐสภายุโรป (MEPs) บรรลุข้อตกลงมาตรการปรับราคาคาร์บอนก่อนข้ามพรมแดน (Carbon Border Adjustment Mechanism: CBAM) โดยมีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ 1 ตุลาคม 2566 เป็นต้นไป ... อ่านต่อ

29 พฤศจิกายน 2565

เศรษฐกิจต่างประเทศ

ควันหลง APEC ... ฝรั่งเศสรุกผลักดันความสัมพันธ์กับไทยและอาเซียน (กระแสทรรศน์ ฉบับที่ 3366)

การเดินทางเยือนไทยของผู้นำฝรั่งเศสในรอบ 16 ปี สะท้อนมุมมองยุโรปที่ต้องการเพิ่มบทบาททางการค้าและการลงทุนในภูมิภาคอาเซียน ซึ่งฝรั่งเศสมีโอกาสพัฒนาความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจกับไทยได้อย่างน่าสนใจ ... อ่านต่อ

17 พฤศจิกายน 2565

เศรษฐกิจต่างประเทศ

APEC CEO Summit 2022 ...สะท้อนวิสัยทัศน์ของภาคธุรกิจในเวทีโลก (กระแสทรรศน์ ฉบับที่ 3362)

ในช่วงเวลาการประชุม APEC 2022 ที่ไทยเป็นเจ้าภาพ หนึ่งในการประชุมที่น่าจับตาคือการประชุม APEC CEO Summit 2022 ที่เปิดโอกาสให้ภาคเอกชนชั้นแนวหน้าของสมาชิกเขตเศรษฐกิจเอเปคเข้าร่วมแสดงวิสัยทัศน์ในเวทีระดับโลก โดยหัวข้อประชุมเน้นการเปิดกว้างสู่โอกาสด้านการค้า การลงทุน ความมั่นคงทางอาหารและพลังงาน การใช้เ... อ่านต่อ

10 พฤศจิกายน 2565

เศรษฐกิจต่างประเทศ

ผลการเลือกตั้งกลางเทอมส่งผลต่อการผ่านร่างกฎหมายในสภาคองเกรส ... แต่ไม่เปลี่ยนภาพเศรษฐกิจสหรัฐฯ ปี 2566 ที่ยากจะเลี่ยงภาวะถดถอย (กระแสทรรศน์ ฉบับที่ 3357)

ผลการเลือกตั้งกลางเทอมในเบื้องต้น พรรครีพับลิกันมีแนวโน้มสูงที่จะครองสภาผู้แทนราษฎร ในขณะที่วุฒิสภายังมีคะแนนสูสี ทำให้การผ่านร่างกฎหมายสำคัญหลังจากนี้ไม่ง่าย รัฐบาลเผชิญข้อจำกัดในการขยายเพดานหนี้ซึ่งอาจต้องแลกมาด้วยปรับลดการใช้จ่ายจำนวนมาก ขณะที่นโยบายประชานิยมที่จะช่วยเพิ่มคะแนนเสียงสำหรับการเลือก... อ่านต่อ

1 พฤศจิกายน 2565

เศรษฐกิจต่างประเทศ

การประชุม FOMC วันที่ 1-2 พ.ย. คาดเฟดปรับขึ้นดอกเบี้ยนโยบายอีกร้อยละ 0.75 ท่ามกลางแรงกดดันเงินเฟ้อที่ยังอยู่ระดับสูง ขณะที่คงต้องติดตามการส่งสัญญาณของเฟดต่อทิศทางนโยบายการเงินในระยะข้างหน้า (มองเศรษฐกิจ ฉบับที่ 3981)

ศูนย์วิจัยกสิกรไทยคาดว่าในการประชุม FOMC ที่จะถึงนี้ เฟดจะพิจารณาปรับขึ้นดอกเบี้ยนโยบายอีกร้อยละ 0.75 ซึ่งจะนับเป็นการปรับขึ้นดอกเบี้ยนโยบายร้อยละ 0.75 ต่อครั้งในการประชุม 4 รอบติดต่อกัน ทั้งนี้ แม้ว่าอัตราเงินเฟ้อทั่วไปของสหรัฐฯ ดูเหมือนว่าจะผ่านจุดสูงสุดไปแล้วในเดือนมิ.ย. ที่ผ่านมา อย่างไรก็ดี อัต... อ่านต่อ

26 ตุลาคม 2565

เศรษฐกิจต่างประเทศ

ไตรมาส 3/2565 เศรษฐกิจจีนโต 3.9% โดย 9 เดือนแรกขยายตัวที่ 3.0% แนวทางการดำเนินนโยบายโควิดเป็นศูนย์จะยังกดดันการฟื้นตัวของเศรษฐกิจในช่วงที่เหลือของปี 2565 จนถึงปีหน้า (มองเศรษฐกิจ ฉบับที่ 3980)

เศรษฐกิจจีนเติบโตดีกว่าคาดการณ์ที่ 3.9%YoY และปรับดีขึ้นกว่าในไตรมาส 2/2565 ที่ 0.4% YoY โดยเศรษฐกิจจีนใน 9 เดือนแรกของปี 2565 ขยายตัวอยู่ที่ 3.0% โดยได้รับปัจจัยหนุนจากการผ่อนคลายล็อกดาวน์ในเมืองใหญ่อย่างเซี่ยงไฮ้ ทำให้ภาคการผลิตเริ่มกลับมาฟื้นตัวดีขึ้น นอกจากนี้มาตรการกระตุ้นเศรษฐกิจของภาครัฐฯ ที่... อ่านต่อ

20 กันยายน 2565

เศรษฐกิจต่างประเทศ

การประชุม FOMC วันที่ 20-21 ก.ย. คาดเฟดปรับขึ้นดอกเบี้ยนโยบายอีกร้อยละ 0.75 ท่ามกลางแรงกดดันเงินเฟ้อที่ยังอยู่ระดับสูง ขณะที่ต้องจับตาตัวเลขประมาณการของเฟดในการประชุมครั้งนี้ (มองเศรษฐกิจ ฉบับที่ 3978)

ในการประชุม FOMC วันที่ 20-21 ก.ย. นี้ คาดว่าเฟดจะปรับขึ้นดอกเบี้ยนโยบายอีกร้อยละ 0.75 ท่ามกลางแรงกดดันด้านเงินเฟ้อที่ยังอยู่ระดับสูง โดยจากตัวเลขเงินเฟ้อเดือนส.ค. อัตราเงินเฟ้อทั่วไปของสหรัฐฯ แม้ว่าจะปรับลดลงอย่างต่อเนื่องเป็นเดือนที่สองติดต่อกัน แต่ก็ยังอยู่ในระดับที่สูงกว่าตลาดคาด ในขณะที่อัตราเง... อ่านต่อ

19 กันยายน 2565

เศรษฐกิจต่างประเทศ

จีนเผชิญภัยแล้งครั้งรุนแรงในรอบ 9 ปี...หนุนส่งออกข้าวหอมมะลิไทยไปจีนในช่วงเดือนก.ย.-ธ.ค.2565 แต่อานิสงส์คงขึ้นอยู่กับสถานการณ์น้ำท่วมในไทย (กระแสทรรศน์ ฉบับที่ 3345)

จีนเผชิญคลื่นความร้อนและภัยแล้งครั้งรุนแรง แม้สถานการณ์ได้เริ่มบรรเทาลงบ้างแล้วในบางพื้นที่ แต่คาดว่า วิกฤติคลื่นความร้อนนี้อาจลากยาวและส่งผลต่อพืชที่กำลังจะเก็บเกี่ยวในช่วงที่เหลือของปีนี้ ดันความต้องการนำเข้าจากจีน โดยเฉพาะข้าว ข้าวสาลี และข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ คาดว่า จีนน่าจะนำเข้าข้าวจากไทยเป็นหลัก... อ่านต่อ

25 กรกฎาคม 2565

เศรษฐกิจต่างประเทศ

การประชุม FOMC วันที่ 26-27 ก.ค. คาดเฟดปรับขึ้นดอกเบี้ยนโยบายอีกร้อยละ 0.75 ท่ามกลางเงินเฟ้อที่ยังคงเร่งสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง ขณะที่เศรษฐกิจสหรัฐฯ เริ่มส่งสัญญาณลดความร้อนแรงลง (มองเศรษฐกิจ ฉบับที่ 3976)

ในการประชุม FOMC วันที่ 26-27 ก.ค. นี้ คาดว่าเฟดจะปรับขึ้นดอกเบี้ยนโยบายอีกร้อยละ 0.75 ท่ามกลางแรงกดดันด้านเงินเฟ้อที่ยังอยู่ระดับสูง โดยตัวเลขเงินเฟ้อเดือนมิ.ย. ที่ออกมาล่าสุดยังคงเร่งตัวสูงขึ้นและแตะระดับสูงสุดในรอบกว่า 40 ปีที่ 9.1% YoY ส่งผลให้เฟดมีแนวโน้มที่จะยังคงให้น้ำหนักต่อความเสี่ยงด้านเงิ... อ่านต่อ

16 กรกฎาคม 2565

เศรษฐกิจต่างประเทศ

ไตรมาส 2/2565 เศรษฐกิจจีนเติบโตที่ 0.4%YoY ครึ่งปีแรก ขยายตัวที่ 2.5% (มองเศรษฐกิจ ฉบับที่ 3975)

มาตรการโควิดเป็นศูนย์กดดันเศรษฐกิจจีนในไตรมาส 2/2565 ขยายตัวเพียง 0.4%YoY ต่ำกว่าที่นักวิเคราะห์คาดการณ์1/ที่ 1.5%YoY โดยช่วงครึ่งปีแรกเติบโตเพียง 2.5% เนื่องจากในช่วงเดือนมี.ค.-เม.ย. 65 จำนวนผู้ติดเชื้อในจีนเร่งตัวสูงขึ้นทำให้ จีนมีการล็อกดาวน์เมืองสำคัญ เช่น เซี่ยงไฮ้ และปักกิ่ง ส่งผลให้กิจกรรมทาง... อ่านต่อ

24 มิถุนายน 2565

เศรษฐกิจต่างประเทศ

ค่าเงินเยนอ่อนค่าต่ำที่สุดในรอบกว่า 2 ทศวรรษ…ส่งออกไทยไปญี่ปุ่นหดตัว 0.6% (กระแสทรรศน์ ฉบับที่ 3327)

สถานการณ์ค่าเงินเยนของญี่ปุ่นอ่อนค่าลงเรื่อยๆ จนแตะสถิติต่ำสุดในรอบกว่า 24 ปี แตะที่ระดับ 136.24 เยนต่อดอลลาร์ฯ (22 มิถุนายน 2565) ลดลงราวร้อยละ 17.1 เมื่อเทียบกับช่วงต้นปี 2565 โดยค่าเงินเยนอ่อนค่ามากที่สุดในบรรดาสกุลเงินหลักของโลกอีกทั้งยังมีสัญญาณอ่อนค่าต่อเนื่องตลอดปี ด้วยปัจจัยทิศทางดอกเบี้ยขาข... อ่านต่อ

13 มิถุนายน 2565

เศรษฐกิจต่างประเทศ

การประชุม FOMC วันที่ 14-15 มิ.ย. คาดเฟดปรับขึ้นดอกเบี้ยนโยบายอีกร้อยละ 0.50 และคงจะส่งสัญญาณแข็งกร้าวอย่างต่อเนื่องท่ามกลางตัวเลขเงินเฟ้อที่เร่งสูงขึ้นและแตะระดับสูงสุดในรอบ 40 ปี (มองเศรษฐกิจ ฉบับที่ 3973)

ในการประชุม FOMC วันที่ 14-15 มิ.ย. นี้ คาดว่าเฟดจะปรับขึ้นดอกเบี้ยนโยบายอีกร้อยละ 0.50 ตามที่ได้ส่งสัญญาณไว้ โดยเฟดจะยังคงให้น้ำหนักต่อความเสี่ยงด้านเงินเฟ้อเป็นหลัก ท่ามกลางเงินเฟ้อที่ยังคงเร่งตัวในระดับสูงและมีแนวโน้มที่จะไม่ชะลอลงในระยะอันใกล้ อัตราเงินเฟ้อทั่วไปวัดจากดัชนีราคาผู้บริโภคเดือนพ.ค... อ่านต่อ

30 เมษายน 2565

เศรษฐกิจต่างประเทศ

การประชุม FOMC คาดเฟดปรับขึ้นดอกเบี้ยนโยบายอีกร้อยละ 0.50 เพื่อสกัดกั้นเงินเฟ้อ…ปัจจัยสนับสนุนทิศทางแข็งค่าของดอลลาร์สหรัฐฯ (มองเศรษฐกิจ ฉบับที่ 3970)

ในการประชุม FOMC วันที่ 3-4 พ.ค. นี้ คาดว่าเฟดจะปรับขึ้นดอกเบี้ยนโยบายอีกร้อยละ 0.50 ตามที่ได้ส่งสัญญาณไว้ก่อนหน้านี้ เพื่อสกัดกั้นเงินเฟ้อที่ยังคงเร่งตัวในระดับสูง โดยเฟดยังคงให้น้ำหนักต่อประเด็นการรักษาเสถียรภาพด้านราคาเป็นหลัก ท่ามกลางเงินเฟ้อที่ยังคงเร่งตัวสูงขึ้น โดยอัตราเงินเฟ้อทั่วไปวัดจากดั... อ่านต่อ

18 เมษายน 2565

เศรษฐกิจต่างประเทศ

เศรษฐกิจจีนไตรมาสที่ 1/2565โต 4.8% (YoY) (มองเศรษฐกิจ ฉบับที่ 3969)

เศรษฐกิจจีนไตรมาส 1/2565 เติบโตร้อยละ 4.8 (YoY) และ 1.3 (QoQ) แม้เศรษฐกิจจีนจะแสดงแนวโน้มการฟื้นตัวได้ดีในไตรมาสแรก แต่จีนยังคงเผชิญปัจจัยเสี่ยงต่อการชะลอตัวของเศรษฐกิจในระยะที่เหลือของปี จากการชะลอตัวลงของเศรษฐกิจโลกจากผลกระทบของความขัดแย้งระหว่างรัสเซีย-ยูเครนที่ยังไม่คลี่คลาย ประเด็นภาคอสังหาริม... อ่านต่อ

14 มีนาคม 2565

เศรษฐกิจต่างประเทศ

การประชุม FOMC วันที่ 15-16 มี.ค. คาดเฟดปรับขึ้นดอกเบี้ยนโยบาย 0.25% ขณะที่ เฟดคงต้องจับตาผลกระทบของวิกฤติยูเครนในการพิจารณานโยบายการเงินในระยะข้างหน้า (มองเศรษฐกิจ ฉบับที่ 3966)

ในการประชุม FOMC ที่จะถึงนี้ คาดว่าเฟดจะปรับขึ้นดอกเบี้ยนโยบาย 0.25% ตามที่ได้ส่งสัญญาณไว้ก่อนหน้านี้ ท่ามกลางแรงกดดันจากเงินเฟ้อที่ยังคงอยู่ในระดับสูงและยังเร่งตัวขึ้น ... อ่านต่อ

3 กุมภาพันธ์ 2565

เศรษฐกิจต่างประเทศ

ฟื้นคืนความสัมพันธ์กับซาอุดีอาระเบีย ... เดินหน้าจัดทำ FTA เร่งสร้างแต้มต่อก่อนคู่แข่ง (กระแสทรรศน์ ฉบับที่ 3305)

การฟื้นความสัมพันธ์ระหว่างไทยกับซาอุดีอาระเบียครั้งแรกในรอบ 30 ปี ทำให้หลังจากนี้คงจะได้เห็นการเชื่อมโยงทางเศรษฐกิจระหว่างกันในด้านต่างๆ เพิ่มขึ้นจากปัจจุบันในปี 2564 ที่ผ่านมา ไทยมีมูลค่าการค้ากับซาอุดีอาระเบียรวมเพียง 7,301 ล้านดอลลาร์ฯ ส่วนใหญ่ไทยพึ่งพาการนำเข้าน้ำมันและเคมีภัณฑ์สูงถึง 5,662 ล้าน... อ่านต่อ

21 มกราคม 2565

เศรษฐกิจต่างประเทศ

การประชุม FOMC วันที่ 25-26 ม.ค. คาดเฟดยังไม่ส่งสัญญาณอะไรเพิ่มเติมนอกเหนือจากการเริ่มปรับขึ้นดอกเบี้ยนโยบายในเดือนมี.ค. ซึ่งตลาดได้รับรู้ไปแล้ว (มองเศรษฐกิจ ฉบับที่ 3964)

ท่ามกลางแรงกดดันจากเงินเฟ้อที่ยังคงเร่งตัวอย่างต่อเนื่องและตลาดแรงงานสหรัฐฯ ที่เข้าสู่ระดับเต็มศักยภาพ (Full employment) คาดว่าเฟดคงเริ่มวัฏจักรการขึ้นดอกเบี้ยในเดือนมี.ค 2565 ตามที่เจ้าหน้าที่เฟดหลายคนได้ส่งสัญญาณไว้ก่อนหน้านี้ ทั้งนี้ ปัญหาคอขวดในห่วงโซ่อุปทานและปัญหาขาดแคลนแรงงานในสหรัฐฯ มีแนวโน้... อ่านต่อ

17 มกราคม 2565

เศรษฐกิจต่างประเทศ

เศรษฐกิจจีนไตรมาส 4/2564 ขยายตัวต่ำสุดในรอบปีที่ 4.0 %(YoY)...มองทั้งปี 2565 โต 5.0% (มองเศรษฐกิจ ฉบับที่ 3963)

เศรษฐกิจจีนทั้งปี 2564 ขยายตัวที่ร้อยละ 8.1(YoY) สูงกว่าเป้าหมายที่ทางการตั้งไว้ที่ไม่ต่ำกว่าร้อยละ 6.0 (YoY) โดยในไตรมาส 4/2564 เศรษฐกิจเติบโตที่ 4.0 (YoY) นับเป็นการขยายตัวรายไตรมาสที่ต่ำที่สุดในรอบปี ส่วนหนึ่งเป็นผลจากฐานที่สูงในปีก่อนหน้า โดยการชะลอตัวในไตรมาสที่ 4 นี้เป็นผลจากการเผชิญกับประเด็น... อ่านต่อ

31 ธันวาคม 2564

เศรษฐกิจต่างประเทศ

1 ม.ค.2565 เปิดเสรี RCEP.... สร้างบรรยากาศการค้า การลงทุนในภูมิภาค แต่ไทยยังต้องเจอการแข่งขันดึงดูดการลงทุนที่มากขึ้น (กระแสทรรศน์ ฉบับที่ 3298)

ความตกลงหุ้นส่วนทางเศรษฐกิจระดับภูมิภาค (Regional Comprehensive Economic Partnership: RCEP) นับเป็นการเปิดเสรีการค้ากับกลุ่มการค้าที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในโลก โดยจะมีผลบังคับใช้ในวันที่ 1 มกราคม 2565 นี้ หลังเจรจามายาวนานถึงเกือบทศวรรษ ซึ่งการเปิดเสรีการค้ากับ 15 ชาติสมาชิกจะช่วยให้การค้าระหว่างชาติสมาช... อ่านต่อ

16 ธันวาคม 2564

เศรษฐกิจต่างประเทศ

การประชุม FOMC วันที่ 14-15 ธ.ค. เฟดเร่งลดวงเงิน QE พร้อมส่งสัญญาณปรับขึ้นดอกเบี้ย 3 ครั้งในปีหน้า (มองเศรษฐกิจ ฉบับที่ 3959)

จากการประชุมนโยบายการเงินวันที่ 14-15 ธ.ค. ที่ผ่านมา เฟดแถลงว่าเฟดจะลดวงเงิน QE ในอัตราที่เร่งขึ้นเป็น 2 เท่าจากเดิม ซึ่งจะส่งผลให้วงเงิน QE ทั้งหมดจะสิ้นสุดในเดือนมี.ค. 2565 พร้อมทั้งส่งสัญญาณปรับขึ้นดอกเบี้ยนโยบาย 3 ครั้งในปี 2565 ท่ามกลางเงินเฟ้อที่เร่งสูงขึ้นอย่างมาก ประกอบกับตลาดแรงงานที่เข้าใก... อ่านต่อ

14 ธันวาคม 2564

เศรษฐกิจต่างประเทศ

คาดเฟดอาจส่งสัญญาณปรับทิศทางนโยบายการเงินแบบตึงตัวเร็วขึ้น ในการประชุมนโยบายการเงินวันที่ 14-15 ธ.ค. นี้ (มองเศรษฐกิจ ฉบับที่ 3958)

ท่ามกลางแรงกดดันจากเงินเฟ้อที่ยังคงเร่งตัวอย่างต่อเนื่อง คาดว่าเฟดอาจพิจารณาปรับแผนลดวงเงิน QE ในอัตราที่เร่งขึ้นกว่าเดิม และมีความเป็นไปได้ที่เฟดอาจส่งสัญญาณปรับขึ้นดอกเบี้ยนโยบายเร็วกว่าที่เคยส่งสัญญาณไว้ก่อนหน้า ทั้งนี้ อัตราเงินเฟ้อในสหรัฐฯ ยังคงพุ่งสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง โดยในเดือนพ.ย. ที่ผ่านมา... อ่านต่อ

13 ธันวาคม 2564

เศรษฐกิจต่างประเทศ

การปรับลดภาษีมูลค่าเพิ่มเพื่อส่งเสริมสิ่งแวดล้อมของ EU ต่อโอกาสของผู้ส่งออกไทย (กระแสทรรศน์ ฉบับที่ 3292)

สหภาพยุโรปได้เดินหน้าในการในเรื่องการแก้ปัญหาสิ่งแวดล้อมและการเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศ (Climate Change) อย่างต่อเนื่อง ตามแผน European Green Deal ล่าสุดเมื่อวันที่ 7 ธ.ค. 64 รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังของสหภาพยุโรป 27 ประเทศ ได้ตกลงร่วมกันในการปรับลดอัตราภาษีมูลค่าเพิ่ม (VAT) ขั้นต่ำจากร้อยละ 1... อ่านต่อ

2 ธันวาคม 2564

เศรษฐกิจต่างประเทศ

EU นำกระแส ESG เตรียมเก็บภาษีคาร์บอนสินค้านำเข้า ... ผลกระทบต่อไทยจะเกิดใน 2-3 ปีข้างหน้า (กระแสทรรศน์ ฉบับที่ 3288)

กระแส ESG แรงกดดันทางการค้าระลอกใหม่ท้าทายความสามารถในการแข่งขันของสินค้าไทย โดยที่ผ่านมา EU นำมาตรการด้านสิ่งแวดล้อมออกมาใช้ก่อนประเทศอื่นๆ ไม่ว่าจะเป็นการเก็บภาษีคาร์บอนกับธุรกิจในประเทศ การลดการใช้งานพลาสติก ล่าสุดกำลังจะเก็บภาษีคาร์บอนกับสินค้านำเข้าจากต่างประเทศในอีก 1 ปีข้างหน้า (ปี 2566) นอกจ... อ่านต่อ

15 พฤศจิกายน 2564

เศรษฐกิจต่างประเทศ

COP26 : จากอุณหภูมิโลก สู่นัยยะทางเศรษฐกิจ (กระแสทรรศน์ ฉบับที่ 3285)

การประชุม COP26 หรือ the 26th UN Climate Change Conference of the Parties ณ เมือง กลาสโกว์ สหราชอาณาจักร ที่ทั่วโลกให้ความสำคัญ ได้เสร็จสิ้นไปแล้วเมื่อวันที่ 13 พฤศจิกายน 2564 โดยผู้นำจากหลายประเทศทั่วโลกได้เข้าร่วมประชุมและแสดงเจตนารมณ์ในการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกที่เป็นสาเหตุสำคัญในการทำให้เกิดภา... อ่านต่อ

1 พฤศจิกายน 2564

เศรษฐกิจต่างประเทศ

CPTPP vs RCEP เมื่อจีนสนใจเข้าเป็นสมาชิก (กระแสทรรศน์ ฉบับที่ 3282)

การประชุม ครม. เมื่อ 12 ตุลาคม 2564 ได้หารือเรื่องความตกลงที่ครอบคลุมและก้าวหน้าสำหรับหุ้นส่วนทางเศรษฐกิจภาคพื้นแปซิฟิก (Comprehensive and Progressive Agreement for Trans-Pacific Partnership: CPTPP) ซึ่งการพิจารณาเข้าร่วมความตกลงดังกล่าวกลับมาเป็นประเด็นอีกครั้งเมื่อจีนหันมาสนใจสมัครสมาชิก เมื่อเดือ... อ่านต่อ

30 ตุลาคม 2564

เศรษฐกิจต่างประเทศ

คาดเฟดประกาศแผนการลดวงเงิน QE อย่างเป็นทางการ ในการประชุมนโยบายการเงินวันที่ 2-3 พ.ย. นี้ (มองเศรษฐกิจ ฉบับที่ 3956)

การประชุมนโยบายการเงินของธนาคารกลางสหรัฐฯ (เฟด) ในวันที่ 2-3 พ.ย. ที่จะถึงนี้ จะเป็นรอบการประชุมที่สำคัญ เนื่องจากเฟดน่าจะมีการประกาศการลดวงเงิน QE อย่างเป็นทางการ หลังจากได้ส่งสัญญาณไว้ก่อนหน้าว่าเฟดจะเริ่มลดวงเงิน QE ภายในสิ้นปีนี้ และคาดว่าจะสิ้นสุดการลดวงเงิน QE ภายในกลางปี 2565 ซึ่งแปลว่าเฟดอาจ... อ่านต่อ

18 ตุลาคม 2564

เศรษฐกิจต่างประเทศ

เศรษฐกิจจีนไตรมาส 3/2564 โตชะลอลงที่ 4.9 %(YoY)...วิกฤติพลังงานยังเป็นความเสี่ยงในช่วงไตรมาสสุดท้าย (มองเศรษฐกิจ ฉบับที่ 3953)

เศรษฐกิจจีนไตรมาส 3/2564 เผชิญกับประเด็นทางเศรษฐกิจจากหลากหลายปัจจัย ขณะที่มาตรการกระตุ้นเศรษฐกิจของจีนนั้นมีอย่างจำกัด ทำให้ภาพรวมการเติบโตทางเศรษฐกิจในไตรมาสที่ 3/2564 นี้ชะลอตัวที่ร้อยละ 4.9 (YoY) ต่อเนื่องจากไตรมาส 1/2564 ที่ขยายตัวร้อยละ 18.3 (YoY) และไตรมาส 2/2564 ที่ร้อยละ 7.9 (YoY) ตามลำดับ ... อ่านต่อ

27 กันยายน 2564

เศรษฐกิจต่างประเทศ

คาดค้าชายแดนไทยปี’64 ฝ่าวิกฤตเติบโตกว่า 28%... ตลาดจีนตอนใต้ขึ้นแท่นอันดับ 1 เป็นครั้งแรก (กระแสทรรศน์ ฉบับที่ 3271)

ศูนย์วิจัยกสิกรไทย มองว่า การค้าชายแดนและผ่านแดนของไทยในช่วง 8 เดือนแรกของปี 2564 เติบโตสูงร้อยละ 38 ส่วนหนึ่งอานิสงส์จากฐานที่ต่ำ ซึ่งผลของฐานจะเริ่มหายไปส่งผลให้ในช่วงที่เหลือของปีชะลอลงเล็กน้อย ประกอบกับเศรษฐกิจในหลายประเทศมีสัญญาณพื้นตัวจากโควิด-19 สายพันธุ์เดลต้า โดยเฉพาะการส่งออกไปจีนตอนใต้ทำใ... อ่านต่อ

22 กันยายน 2564

เศรษฐกิจต่างประเทศ

ส่องจังหวะการปรับเปลี่ยนนโยบายการเงินอาเซียน หลังจากสหรัฐฯ ส่งสัญญาณในการปรับลดขนาดมาตรการ QE (กระแสทรรศน์ ฉบับที่ 3269)

สถานการณ์การระบาดของโควิดเริ่มมีทิศทางผ่อนคลายลงโดยเฉพาะในประเทศกลุ่มพัฒนาแล้ว ส่งผลให้เศรษฐกิจของประเทศเหล่านั้นกลับมาฟื้นตัวอย่างมีนัยสำคัญและเติบโตเหนือระดับก่อนโควิด ตลาดแรงงานที่เริ่มกลับสู่ระดับปกติมากขึ้น ขณะที่แรงกดดันเงินเฟ้อมีสัญญาณเร่งตัวเป็นปัจจัยที่นำมาสู่การเปลี่ยนแปลงที่สำคัญของตลาดกา... อ่านต่อ

21 กันยายน 2564

เศรษฐกิจต่างประเทศ

ในการประชุมวันที่ 21-22 ก.ย. นี้…เฟดน่าจะยังคงมีมุมมองต่อการปรับลด QE ไม่เปลี่ยนแปลงจากที่ตลาดรับรู้ไปแล้ว (มองเศรษฐกิจ ฉบับที่ 3948)

ศูนย์วิจัยกสิกรไทยประเมินว่าเฟดจะยังคงอัตราดอกเบี้ยนโยบายที่ 0.0-0.25% และน่าจะยังคงไม่ประกาศการลดวงเงิน QE (QE tapering) ในการประชุมนโยบายการเงินที่จะมีขึ้นในวันที่ 21-22 ก.ย. นี้ โดยเฟดน่าจะยังคงมีมุมมองต่อการปรับลด QE ไม่เปลี่ยนแปลงจากที่ตลาดรับรู้ไปแล้วว่าเฟดจะเริ่มลดวงเงิน QE ในสิ้นปีนี้ โดยในก... อ่านต่อ

7 กันยายน 2564

เศรษฐกิจต่างประเทศ

เศรษฐกิจและการลงทุนของอินเดียเติบโตสูง...โน้มนำการส่งออกไทยไปอินเดียปี’ 64 เร่งตัว 40% (กระแสทรรศน์ ฉบับที่ 3265)

อินเดียไม่เพียงเป็นประเทศที่น่าสนใจด้วยอัตราการขยายตัวทางเศรษฐกิจที่สูงเป็นอันดับต้นๆ ของโลกแต่ในปี 2563 ที่ผ่านมายังดึงดูด FDI ไหลเข้าประเทศสูงจนกลายเป็นอันดับที่ 5 ของโลก ศูนย์วิจัยกสิกรไทยมองว่า การลงทุนกลุ่มใหม่ที่เข้ามาหลังจากนี้โดยเฉพาะธุรกิจบริการเกาะกระแสดิจิทัล E-commerce และ ICT การผลิตสิน... อ่านต่อ

13 สิงหาคม 2564

เศรษฐกิจต่างประเทศ

การผิดนัดชำระหนี้ที่เพิ่มขึ้น .... มองว่าไม่ส่งผลกระทบต่อเศรษฐกิจจีน (มองเศรษฐกิจ ฉบับที่ 3945)

มาตรการกระตุ้นเศรษฐกิจของจีนหลังวิกฤติการเงินโลกในปี ค.ศ. 2008 แม้จะประสบความสำเร็จในการนำพาประเทศให้เติบโตเฉลี่ยไม่ต่ำกว่า 6% ต่อปีในศตวรรษที่ผ่านมา แต่ก็ได้สร้างปัญหาคั่งค้างที่ต้องได้รับการแก้ไขโดยเฉพาะปัญหาหนี้สินภาคธุรกิจ (corporate debt) ที่เติบโตอย่างก้าวกระโดดจากร้อยละ 94 ต่อจีดีพี ในปี 2551... อ่านต่อ

26 กรกฎาคม 2564

เศรษฐกิจต่างประเทศ

คาดเฟดยังคงดอกเบี้ยที่ระดับ 0.0-0.25% ในการประชุมวันที่ 27-28 ก.ค. นี้…แม้ว่าแรงกดดันจากเงินเฟ้อจะเพิ่มสูงขึ้น (มองเศรษฐกิจ ฉบับที่ 3941)

ศูนย์วิจัยกสิกรไทยประเมินว่าเฟดจะยังคงอัตราดอกเบี้ยนโยบายที่ 0.0-0.25% สำหรับการประชุมนโยบายการเงินที่จะมีขึ้นในวันที่ 27-28 ก.ค. นี้ เนื่องจากตลาดแรงงานสหรัฐฯ ยังคงไม่ฟื้นตัวอย่างเต็มที่ และจำนวนคนว่างงานยังคงอยู่ในระดับที่สูงกว่าในช่วงก่อนโควิด-19 อย่างมาก ขณะที่ แม้ว่าเฟดเผชิญแรงกดดันจากเงินเฟ้อท... อ่านต่อ

23 กรกฎาคม 2564

เศรษฐกิจต่างประเทศ

2020 Tokyo Olympics ... อานิสงส์เพิ่มต่อเศรษฐกิจญี่ปุ่นจำกัด (กระแสทรรศน์ ฉบับที่ 3247)

การจัดงานโตเกียวโอลิมปิกกำหนดการเดิมคือปี 2563 แต่เลื่อนมาเป็นปี 2564 ท่ามกลางโควิด-19 ที่ยังระบาดหนักในญี่ปุ่น แม้จะมีบางฝ่ายคัดค้านเนื่องจากกังวลว่าสถานการณ์จะเลวร้ายลงอีก แต่ในที่สุดรัฐบาลก็ยืนยันจัดงานตามแผนแม้จะไม่คุ้มค่าในเชิงเศรษฐกิจ แต่หากยกเลิกการจัดงานจะยิ่งสูญเสียงบประมาณไปโดยเปล่าประโยชน... อ่านต่อ

20 กรกฎาคม 2564

เศรษฐกิจต่างประเทศ

การใช้เครื่องมือทางกฎหมายของจีนและสหรัฐฯ...จุดเริ่มต้นของการแข่งขันเป็นผู้นำโลกในยุคใหม่ (กระแสทรรศน์ ฉบับที่ 3246)

นับตั้งแต่การเข้าร่วม WTO ของจีนในปี 2544 การเติบโตทางเศรษฐกิจของจีนก็เร่งตัวอย่างต่อเนื่อง ส่งผลให้ช่องว่างทางขนาดเศรษฐกิจระหว่างจีนและสหรัฐฯลดลง ทำให้อำนาจต่อรองของจีนกลับเพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสำคัญ สร้างความกังวลให้สหรัฐฯ ทำให้สหรัฐฯ ต้องออกมาตรการในการตอบโต้และขัดขวางจีนมาตั้งแต่สมัยประธานาธิบดีทรั... อ่านต่อ

16 กรกฎาคม 2564

เศรษฐกิจต่างประเทศ

จีนตั้งเป้าเป็นประเทศปลอดคาร์บอน... อานิสงส์สินค้าส่งออกไทยเพื่อตอบโจทย์พลังงานสะอาดเร่งตัว (กระแสทรรศน์ ฉบับที่ 3245)

แผนพัฒนาเศรษฐกิจฯ ฉบับที่ 14 ของจีน ตั้งเป้าหมายจะเป็นประเทศปลอดคาร์บอนให้ได้ในอีก 4 ทศวรรษข้างหน้า อย่างไรก็ตาม กิจกรรมทางเศรษฐกิจจีนที่ฟื้นตัวหลังผ่านวิกฤตโควิด-19 กลับทำให้การปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ของจีนเร่งตัวสูงขึ้นอย่างมาก ศูนย์วิจัยกสิกรไทย มองว่า จีนยังต้องใช้เวลาในการบรรลุเป้าหมาย โดยอุต... อ่านต่อ

15 กรกฎาคม 2564

เศรษฐกิจต่างประเทศ

เศรษฐกิจจีนไตรมาส 2/2564 ส่งสัญญาณชะลอตัว ที่ 7.9%(YoY) คาดทั้งปี 2564 ยังเติบโตได้ที่ 8.0-8.5% (มองเศรษฐกิจ ฉบับที่ 3938)

อัตราการขยายตัวทางเศรษฐกิจของจีนในไตรมาสที่ 2/2564 เติบโตที่ร้อยละ 7.9 (YoY) ยังคงขยายตัวต่อเนื่องจากไตรมาส 1/2564 ที่เติบโตร้อยละ 18.3 (YoY) อย่างไรก็ดี การเติบโตทางเศรษฐกิจของจีนเริ่มส่งสัญญาณชะลอตัว จากต้นทุนการผลิตที่สูงขึ้น และสถานการณ์การความไม่แน่นอนของการแพร่ระบาดโควิด-19 สายพันธุ์ใหม่ทั้งใน... อ่านต่อ

7 กรกฎาคม 2564

เศรษฐกิจต่างประเทศ

Global Minimum Tax เปลี่ยนรูปแบบการแข่งขันเพื่อดึงดูดเม็ดเงินลงทุนจากต่างชาติทั่วโลก (กระแสทรรศน์ ฉบับที่ 3240)

130 ประเทศทั่วโลกได้เห็นพ้องกันในการปฏิรูประบบภาษีโลกครั้งประวัติศาสตร์ ที่จะช่วยแก้ปัญหาบริษัทข้ามชาติหลบเลี่ยงภาษีได้มากขึ้น โดยมีสาระสำคัญอยู่ 2 ประเด็นคือ การกำหนดอัตราภาษีนิติบุคคลขั้นต่ำทั่วโลก (Global Minimum Tax) และการจัดสรรรายได้ภาษีของบริษัทข้ามชาติที่ให้บริการดิจิทัลในรูปแบบใหม่ที่มีความ... อ่านต่อ

15 มิถุนายน 2564

เศรษฐกิจต่างประเทศ

คาดเฟดยังคงดอกเบี้ยที่ระดับ 0.0-0.25% ในการประชุมวันที่ 15-16 มิ.ย. นี้…ขณะที่ต้องติดตามประมาณการเศรษฐกิจและเงินเฟ้อ (มองเศรษฐกิจ ฉบับที่ 3933)

ศูนย์วิจัยกสิกรไทยประเมินว่าเฟดจะยังคงอัตราดอกเบี้ยนโยบายที่ 0.0-0.25% สำหรับการประชุมนโยบายการเงินที่จะมีขึ้นในวันที่ 15-16 มิ.ย. นี้ ทั้งนี้ แม้ว่าเงินเฟ้อจะเร่งสูงขึ้น อย่างไรก็ดี การเร่งขึ้นของเงินเฟ้อมีสาเหตุมาจากการฟื้นตัวของกิจกรรมทางเศรษฐกิจหลังการเปิดเมือง (Reopening) การชดเชยอุปสงค์ที่ค้าง... อ่านต่อ

27 พฤษภาคม 2564

เศรษฐกิจต่างประเทศ

บทบาทจีนใน CLMV จะเปลี่ยนไปอย่างไรหลังโควิด-19 ท่ามกลางความขัดแย้งด้านภูมิรัฐศาสตร์ที่ยังคุกรุ่นอยู่

ในช่วงที่ผ่านมา บทบาททางเศรษฐกิจของจีนในกลุ่มประเทศ CLMV นับได้ว่าโดดเด่นมาก โดยเฉพาะด้านการค้า ผ่านยุทธศาสตร์ต่างๆ ที่จีนพยายามเข้ามาสร้างอิทธิพลทางเศรษฐกิจ ทั้งอิทธิพลของความเชื่อมโยงทางกายภาพ (Physical connectivity) อาทิ โครงสร้างพื้นฐานด้านคมนาคม รวมถึงเขตเศรษฐกิจพิเศษต่างๆ ภายใต้ Belt and Road ... อ่านต่อ