10 พฤษภาคม 2565
เศรษฐกิจไทย
จากสถานการณ์โควิดที่ผ่อนคลาย ทำให้นักเรียนสามารถกลับไปเรียนที่โรงเรียนได้ตามปกติ (On-Site) ซึ่งจะเริ่มทยอยเปิดเรียนในวันที่ 17 พ.ค. 2565 และในช่วงเวลานี้ของทุกปี ผู้ปกครองที่มีบุตรหลานในวัยเรียนจะมีภาระค่าใช้จ่ายเพื่อการศึกษา แต่เนื่องจากตั้งแต่ต้นปี 2565 ที่ผ่านมา ราคาสินค้าหลายประเภทและพลังงานเร่ง... อ่านต่อ
FileSize KB
ในเดือนเม.ย. 65 ผลสำรวจภาวะเศรษฐกิจและการครองชีพของครัวเรือนยังบ่งชี้ถึงความกังวลเกี่ยวกับสถานการณ์ราคาที่สินค้าที่อยู่ในระดับสูง โดยดัชนี KR-ECI ปัจจุบันและ 3 เดือนข้างหน้าเดือนเม.ย.65 ลดลงอยู่ที่ 32.5 และ 35.5 จาก 33.4 และ 36.1 ในเดือนมี.ค.65 เมื่อพิจารณาองค์ประกอบของดัชนีพบว่า ครัวเรือนมีความกังว... อ่านต่อ
11 เมษายน 2565
สถานการณ์ความขัดแย้งระหว่างรัสเซียและยูเครนที่ยังไม่สามารถเจรจากันได้ และยังไม่มีท่าทีหรือจุดสิ้นสุดของความขัดแย้งที่ชัดเจนส่งผลให้ระดับราคาพลังงานและสินค้าโภคภัณฑ์ที่ทั้งสองประเทศเป็นผู้ผลิตและส่งออกสำคัญอยู่ในระดับสูง ระดับราคาสินค้าที่ปรับสูงขึ้นได้กดดันภาวะดัชนีภาวะเศรษฐกิจและการครองชีพของครัวเร... อ่านต่อ
8 เมษายน 2565
ในช่วงวันหยุดยาวเทศกาลสงกรานต์ของทุกปี จะเป็นช่วงเวลาที่คนไทยจะเดินทางออกนอกพื้นที่เพื่อกลับภูมิลำเนา เพื่อเข้าร่วมประเพณีวันขึ้นปีใหม่ไทย รวมไปถึงการเดินทางท่องเที่ยวทั้งแบบพักค้าง และแบบไปเช้า-เย็นกลับ สำหรับการท่องเที่ยวในประเทศในช่วงเทศกาลสงกรานต์ในปี 2565 นี้ ศูนย์วิจัยกสิกรไทย มองว่า บรรยากาศก... อ่านต่อ
30 มีนาคม 2565
ศูนย์วิจัยกสิกรไทยมองว่า มูลค่าการใช้จ่ายของคนกรุงเทพฯ ช่วงเทศกาลสงกรานต์ปี 2565 อยู่ที่ 23,400 ล้านบาท ลดลง 2.5% หดตัวต่อเนื่องจากปีก่อน ผลจากค่าครองชีพและเงินเฟ้อที่ปรับตัวสูงขึ้น ทำให้คนกรุงเทพฯ ส่วนใหญ่ระมัดระวังการใช้จ่าย โดยเม็ดเงินใช้จ่ายรายกิจกรรมปรับตัวลดลงเกือบทุกประเภทกิจกรรม สอดคล้องกั... อ่านต่อ
25 มีนาคม 2565
... อ่านต่อ
11 มีนาคม 2565
ดัชนีภาวะเศรษฐกิจและการครองชีพของครัวเรือนในปัจจุบันและ 3 เดือนข้างหน้าปรับดีขึ้นอยู่ที่ 33.9 และ 36.0 จากมาตรการภาครัฐที่ทยอยออกเพื่อมาบรรเทาผลกระทบจากสถานการณ์ราคาสินค้าที่สูงขึ้น ทั้งโครงการคนละครึ่งระยะที่ 4 ที่เลื่อนขึ้นมาเร็วกว่ากำหนดเดิม และการปรับลดภาษีสรรพาสามิตน้ำมันดีเซล นอกจากนี้ ในเดือ... อ่านต่อ
10 กุมภาพันธ์ 2565
แม้ว่าการระบาดของโอมิครอนหลังช่วงปีใหม่จะไม่ได้ส่งผลให้เกิดการยกระดับมาตรการคุมเข้มการระบาด ผลกระทบต่อกิจกรรมทางเศรษฐกิจจึงมีจำกัด แต่อย่างไรก็ตามระดับราคาสินค้าที่ปรับเพิ่มขึ้นทั้งอาหารสด เช่น เนื้อหมู รวมถึงราคาพลังงานที่ยังคงอยู่ในระดับสูงต่อเนื่องได้เข้ามากดดันกำลังซื้อของภาคครัวเรือนส่งผลให้ดัช... อ่านต่อ
24 มกราคม 2565
ศูนย์วิจัยกสิกรไทย มองว่า ราคาสินค้าและค่าครองชีพที่ทยอยปรับสูงขึ้น ยังคงเป็นปัจจัยหลักที่กดดันการใช้จ่ายในช่วงเทศกาลตรุษจีนของคนกรุงเทพฯ ในปี 2565 ซึ่งแม้ว่าสถานการณ์การระบาดของโควิดสายพันธุ์ Omicron จะสร้างความกังวลต่อผู้บริโภคอยู่บ้าง แต่ด้วยพฤติกรรมคนไทยเชื้อสายจีนบางกลุ่มที่ยังให้ความสำคัญกับเท... อ่านต่อ
18 มกราคม 2565
จากการสำรวจของศูนย์วิจัยกสิกรไทย พบว่า ค่าครองชีพที่ทยอยปรับเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง ไม่ว่าจะเป็นสินค้าในหมวดอาหาร ค่าไฟฟ้าและค่าเดินทาง สร้างความกังวลและผลกระทบให้กับคนกรุงเทพฯ โดยเฉพาะคนที่มีรายได้ต่ำกว่า 15,000 บาทต่อเดือน จะได้รับผลกระทบที่มากกว่ากลุ่มรายได้อื่นๆ ส่งผลให้มีการปรับพฤติกรรมการใช้จ่... อ่านต่อ
13 มกราคม 2565
ทิศทางการขาดดุลงบประมาณในช่วงปี 2565-2566 ยังคงอยู่สูงกว่าในช่วงก่อนวิกฤตโควิด-19 ซึ่งจะมีผลต่อเนื่องต่อแผนการก่อหนี้ของภาครัฐในปี 2565 โดยศูนย์วิจัยกสิกรไทยคาดว่า ยอดคงค้างหนี้ในประเทศของภาครัฐในปี 2565 (ตามปีปฏิทิน) มีโอกาสแตะระดับ 9.90 ล้านล้านบาท หรือขยับขึ้นประมาณ 1.50 ล้านล้านบาทจากยอดคงค้างฯ ... อ่านต่อ
12 มกราคม 2565
ในเดือนธ.ค.64 ครัวเรือนยังมีความวิตกกังวลเกี่ยวกับค่าครองชีพที่สูงขึ้นโดยเฉพาะในส่วนของราคาอาหารและเครื่องดื่ม นอกจากนี้ในช่วงเทศกาลที่ผ่านมาครัวเรือนยังมีความกังวลเกี่ยวกับค่าใช้จ่ายพิเศษที่เพิ่มขึ้นกดดันให้ดัชนีภาวะเศรษฐกิจและการครองชีพของครัวเรือน (KR-ECI) ปรับลดลงต่อเนื่องเป็นเดือนที่ 3 อยู่ที่ ... อ่านต่อ
21 ธันวาคม 2564
ศูนย์วิจัยกสิกรไทยประเมินว่า ในการประชุมคณะกรรมการนโยบายการเงิน (กนง.) ในวันที่ 22 ธ.ค. นี้ กนง. จะพิจารณาคงอัตราดอกเบี้ยนโยบายที่ 0.50% ท่ามกลางความเสี่ยงที่มีมากขึ้นจากโควิด-19 สายพันธุ์โอมิครอน ซึ่งอาจส่งผลให้จำนวนนักท่องเที่ยวที่เดินทางเข้ามาในไทยอาจน้อยกว่าที่คาดการณ์ไว้ รวมถึงอาจส่งผลกระทบต่อค... อ่านต่อ
13 ธันวาคม 2564
ศูนย์วิจัยกสิกรไทยมองว่า เทศกาลปีใหม่ 2565 น่าจะให้ภาพบรรยากาศที่กลับมาคึกคักมากขึ้นกว่าปีก่อน จากสถานการณ์การระบาดของโควิด-19 และการเข้าถึงวัคซีนที่ดีขึ้น ประกอบกับมาตรการกระตุ้นกำลังซื้อของภาครัฐ และการเร่งจัดแคมเปญส่งเสริมการขายของผู้ประกอบการในช่วงเทศกาล อย่างไรก็ตาม ยังคงต้องติดตามการระบาดของโค... อ่านต่อ
7 ธันวาคม 2564
แนวโน้มเศรษฐกิจโลกและไทยกลับมามีความไม่แน่นอนเพิ่มขึ้นอีกครั้ง หลังเริ่มปรากฏการระบาดของไวรัสสายพันธุ์ Omicron ซึ่งในปัจจุบัน ยังไม่มีข้อมูลที่แน่ชัดเกี่ยวกับอัตราการแพร่เชื้อและประสิทธิภาพของวัคซีนที่ใช้อยู่ อย่างไรก็ตาม การที่หลายประเทศเริ่มคุมเข้มด้านการเดินทาง ก็อาจทำให้แนวโน้มการฟื้นตัวของเศรษฐ... อ่านต่อ
9 พฤศจิกายน 2564
ในเดือนต.ค. 64 ครัวเรือนมีกังวลมากขึ้นเกี่ยวกับภาวะเศรษฐกิจและการครองชีพ เนื่องจากราคาพลังงานที่ปรับสูงขึ้นต่อเนื่อง รวมถึงผลกระทบจากสถานการณ์น้ำท่วมทำให้ราคาพืชผักสูงขึ้น โดยดัชนีภาวะเศรษฐกิจและการครองชีพของครัวเรือนในเดือนต.ค. 64 และอีก 3 เดือนข้างหน้าปรับลดลงอยู่ที่ 34.9 และ 36.7 จากในเดือนก.ย.64... อ่านต่อ
27 ตุลาคม 2564
เศรษฐกิจไทยในปี 2565 คาดว่าจะฟื้นตัวที่ 3.7% จากความครอบคลุมของประชากรที่จะได้รับวัคซีนเกินกว่า 70% น่าจะช่วยลดความจำเป็นที่จะต้องใช้มาตรการล็อกดาวน์ลง ซึ่งจะเป็นปัจจัยหนุนให้การดำเนินธุรกิจในประเทศไม่หยุดชะงัก โดยปัจจัยหนุนการฟื้นตัวของเศรษฐกิจมาจากการส่งออก การใช้จ่ายครัวเรือนที่ฟื้นตัวจากฐานที่ต่... อ่านต่อ
12 ตุลาคม 2564
สถานการณ์โควิด-19 ในเดือนก.ย. เริ่มมีทิศทางทรงตัวส่งผลให้มีการผ่อนคลายมาตรการคุมเข้มการระบาดบางส่วน เช่น ห้างสรรพสินค้าและร้านอาหารที่เริ่มกลับมาเปิดทำการได้ส่งผลให้ดัชนีภาวะเศรษฐกิจและการครองชีพของครัวเรือนในเดือนก.ย.ปรับตัวเพิมขึ้นอยู่ที่ 36.6 จาก 33.0 ในเดือนส.ค. ซึ่งเป็นไปในทิศทางเดียวกับดัชนีภา... อ่านต่อ
30 กันยายน 2564
แม้สถานการณ์โควิดและการเข้าถึงวัคซีนจะเริ่มมีสัญญาณบวก แต่สถานการณ์น้ำท่วมและราคาพลังงานที่มีแนวโน้มปรับสูงขึ้น เป็นปัจจัยเฉพาะหน้าเพิ่มเติมที่เข้ามากระทบความเชื่อมั่น ฉุดรั้งกำลังซื้อ และอาจสร้างความไม่สะดวกต่อการใช้จ่ายให้กับผู้บริโภคในช่วงเวลานี้ที่เทศกาลกินเจกำลังจะมาถึงในวันที่ 6-14... อ่านต่อ
21 กันยายน 2564
คณะกรรมการวินัยการเงินการคลังมีมติเห็นชอบขยายกรอบเพดานหนี้สาธารณะจาก 60% ต่อ GDP เป็น 70% ต่อ GDP เพื่อเป็นการเพิ่มพื้นที่ทางการคลังให้กับรัฐบาล และไม่เป็นอุปสรรคหากรัฐบาลมีความจำเป็นต้องกู้เงินเพื่อดำเนินนโยบายการคลังในระยะปานกลาง ทั้งนี้ วิกฤติเศรษฐกิจที่เกิดจากสถานการณ์โควิดส่งผลให้ภาครัฐได้มีการ... อ่านต่อ
10 กันยายน 2564
ในเดือนส.ค.64 ครัวเรือนยังคงมีความวิตกกังวลเกี่ยวกับภาวะเศรษฐกิจและการครองชีพของครัวเรือนต่อเนื่อง โดยดัชนีภาวะเศรษฐกิจและการครองชีพของครัวเรือน (KR-ECI) อยู่ที่ 33.0 ซึ่งยังคงเป็นระดับที่ต่ำกว่าในช่วงล็อกดาวน์ทั้งประเทศในปีก่อน ครัวเรือนส่วนมากมีความกังวลเพิ่มขึ้นเกี่ยวกับค่าใช้จ่ายที่ไม่รวมภาระหนี... อ่านต่อ
20 สิงหาคม 2564
สถานการณ์การระบาดของโควิด-19 ภายในประเทศที่ยังไม่คลี่คลาย และยังคงพบจำนวนผู้ติดเชื้อรายใหม่ต่อวันสูง ส่งผลให้คาดว่า ปริมาณขยะติดเชื้อหรือมูลฝอยติดเชื้อในช่วงที่เหลือของปี 2564 น่าจะยังมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นตามตัวเลขจำนวนผู้ติดเชื้อที่เพิ่มขึ้น ทำให้ทั้งปี 2564 ศูนย์วิจัยกสิกรไทยคาดว่า ปริมาณขยะติดเชื้อน... อ่านต่อ
16 สิงหาคม 2564
เศรษฐกิจไทยในครึ่งแรกของปี 2564 ขยายตัวได้ดีกว่าที่คาด จากตัวเลขเศรษฐกิจไทยในไตรมาส 2/2564 ที่ขยายตัว 7.5% YoY เนื่องจากปัจจัยฐานต่ำ และการส่งออกที่เร่งตัวขึ้นเป็นหลัก ส่งผลให้ในครึ่งปีแรกของปี 2564 เศรษฐกิจไทยขยายตัวที่ 2.0% YoY อย่างไรก็ดี หากเทียบกับไตรมาสก่อนหน้าเศรษฐกิจไทยจะขยาย... อ่านต่อ
10 สิงหาคม 2564
นับตั้งแต่ช่วงต้นเดือนเม.ย.ที่มีการระบาดของโควิด-19 ระลอกที่ 3 ดัชนีภาวะเศรษฐกิจและการครองชีพของครัวเรือน (KR-ECI) ปรับลดลงมาต่อเนื่องจนในเดือนก.ค. 64 อยู่ที่ 34.7 ซึ่งเป็นระดับต่ำกว่าในเดือนเม.ย. 63 (มีการล็อกดาวน์ทั้งประเทศ) ที่อยู่ที่ 35.1 ขณะที่ดัชนีคาดการณ์ 3 เดือนข้างหน้าอยู่ที่ 36.6 ปรับลดลง... อ่านต่อ
15 กรกฎาคม 2564
ศูนย์วิจัยกสิกรไทยปรับลดประมาณการเศรษฐกิจไทยปี 2564 อยู่ที่ 1.0% จากประมาณการเดิมที่ 1.8% เนื่องจากสถานการณ์การแพร่ระบาดโควิด-19 มีความรุนแรงกว่าที่เคยประเมิน ส่งผลกระทบให้ระบบสาธารณสุขของไทยเผชิญข้อจำกัด จึงมีความจำเป็นต้องมีมาตรการควบคุมการแพร่ระบาดที่เข้มงวดขึ้น ซึ่งส่งผลให้ผลกระทบต่อภาคธุรกิจและ... อ่านต่อ
9 กรกฎาคม 2564
สถานการณ์การจ้างงานที่เปราะบางส่งผลกระทบต่อการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการใช้จ่ายของครัวเรือน มาตรการภาครัฐเพิ่มเติมควบคู่ไปกับการจัดหาและแจกจ่ายวัคซีนที่มีประสิทธิภาพมีความจำเป็นเร่งด่วน... อ่านต่อ
29 มิถุนายน 2564
จากมาตรการกึ่งล็อกดาวน์ที่ให้มีการหยุดงานก่อสร้างโดยเน้นไปที่โครงการขนาดใหญ่ อย่างน้อย 30 วัน ในพื้นที่ควบคุมสูงสุดและเข้มงวด (สีแดงเข้ม) 6 จังหวัด ได้แก่ กรุงเทพฯ นครปฐม นนทบุรี ปทุมธานี สมุทรปราการ สมุทรสาคร รวมถึงการจำหน่ายอาหารหรือเครื่องดื่มที่ให้เปิดดำเนินการได้เฉพาะการนำกลับไปบริโภคที่อื่นเท่... อ่านต่อ
10 มิถุนายน 2564
ศูนย์วิจัยกสิกรไทยคงประมาณการอัตราการเติบโตของเศรษฐกิจไทยปี 2564 ไว้ที่ 1.8% โดยมองว่าเศรษฐกิจยังมีความไม่แน่นอนทั้งการแพร่ระบาดของไวรัสทั้งในและต่างประเทศ รวมถึงการฉีดวัคซีน แต่หากสามารถเร่งกระจายวัคซีนได้มากพอภายใน 2-3 เดือนนี้ คงทำให้ภาพการฟื้นตัวทางเศรษฐกิจในไตรมาส 4 ชัดเจนขึ้นกว่าเดิม... อ่านต่อ
การผ่อนคลายมาตรการควบคุมการแพร่ระบาดในช่วงกลางเดือนพ.ค. และมาตรการเยียวยาของภาครัฐที่ทยอยออกมาช่วยหนุนให้ดัชนีภาวะเศรษฐกิจและการครองชีพของครัวเรือนในเดือนพ.ค. ปรับเพิ่มขึ้นได้เล็กน้อยแต่ยังอยู่ในระดับต่ำที่ 37.3 จาก 37.0 ในเดือนเม.ย. นอกจากนี้เมื่อพิจารณาดัชนีภาวะเศรษฐกิจและการครองชีพของครัวเรือนใน ... อ่านต่อ
25 พฤษภาคม 2564
การระบาดของโควิด-19 เป็นระยะเวลานาน กระทบการมีงานทำและรายได้ของผู้ปกครอง ผลสำรวจสะท้อนว่า ผู้ปกครองส่วนใหญ่มีความกังวลต่อสภาพคล่องทางการเงินในการใช้จ่ายเพื่อการศึกษาของบุตรหลานในการเปิดเทอมปี 2564 โดย ศูนย์วิจัยกสิกรไทย ประเมินว่า มูลค่าการใช้จ่ายในด้านการศึกษาสำหรับบุตรหลานในช่วงเปิดเทอ... อ่านต่อ
20 พฤษภาคม 2564
มติ ครม. เห็นชอบ พ.ร.ก.กู้เงินเพิ่มเติม 7 แสนล้านบาท ซึ่งจะช่วยสร้างความยืดหยุ่นแก่รัฐบาลในการดูแลเศรษฐกิจที่ได้รับผลกระทบจากการแพร่ระบาดของโควิด-19 ระลอกใหม่ โดยการใช้วงเงินกู้จริงคงจะขึ้นอยู่กับสถานการณ์การแพร่ระบาดและภาวะเศรษฐกิจในช่วงข้างหน้า ในทางตรงข้าม หากไม่มี พ.ร.ก.กู้เงินฯ นี้ แต่การแพร่ร... อ่านต่อ
18 พฤษภาคม 2564
เศรษฐกิจไทยไตรมาส 1/2564 หดตัวที่ -2.6% YoY น้อยกว่าตลาดคาดที่ -3.3% โดยถูกขับเคลื่อนจากการฟื้นตัวของเศรษฐกิจโลกและมาตรการกระตุ้นเศรษฐกิจในประเทศเป็นหลัก โดยการส่งออกเริ่มส่งสัญญาณฟื้นตัวอย่างแข็งแกร่งตามการฟื้นตัวของเศรษฐกิจโลก ขณะที่ การแพร่ระบาดของโควิด-19 ที่ยังไม่สามารถควบคุมได้... อ่านต่อ
14 พฤษภาคม 2564
ในภาวะปัจจุบัน ทั่วโลกกำลังเผชิญความกังวลต่อภาวะเงินเฟ้อที่เร่งขึ้น ซึ่งรวมถึงสหรัฐฯ และไทย อย่างไรก็ดี สถานการณ์เงินเฟ้อและความแข็งแรงของภาวะเศรษฐกิจไทยกับสหรัฐฯ มีความแตกต่างกัน เพราะสภาวะเงินเฟ้อไทยในปัจจุบันเกิดขึ้นจากปัจจัยด้านอุปทาน และเป็นช่วงจังหวะเวลาที่เศรษฐกิจไทยกำลังเผชิญกับแรงกดดันและคว... อ่านต่อ
11 พฤษภาคม 2564
สถานการณ์การแพร่ระบาดของโควิด-19 ที่เริ่มต้นขึ้นในเดือนเม.ย. ส่งผลกระทบให้ดัชนีภาวะเศรษฐกิจและการครองชีพของครัวเรือนในเดือนเม.ย. ปรับตัวลดลงอย่างมากอยู่ที่ 37.0 จาก 40.4 ในเดือนมี.ค. มีนัยต่อความเปราะบางของกำลังซื้อครัวเรือนจากจังหวะเวลาเกิดการระบาดหนัก ในขณะที่มาตรการเยียวยาเพิ่มเติมยังไม่ออกมา รวม... อ่านต่อ
20 เมษายน 2564
จากผลกระทบของการแพร่ระบาดโควิดระลอกใหม่ ศูนย์วิจัยกสิกรไทยมองเศรษฐกิจไทยปี 2564 มีแนวโน้มเติบโตลดลงที่ 1.8% จากคาดการณ์เดิมที่ 2.6% โดยมองว่าการแพร่ระบาดของโควิด-19 ระลอกใหม่มีความรุนแรงกว่าในระลอกก่อนหน้านี้ ในขณะที่แม้ว่าจะไม่ได้มีมาตรการควบคุมการแพร่ระบาดที่เข้มงวด แต่ความกังวลต่อ... อ่านต่อ
9 เมษายน 2564
สถานการณ์โควิด-19 ได้กลับมารุนแรงขึ้น จำนวนผู้ติดเชื้อรายวันเพิ่มขึ้นอย่างมาก โดยศูนย์กลางการระบาดในครั้งนี้อยู่ใจกลางเมืองกรุงเทพฯ และกระจายไปทั่วประเทศอย่างรวดเร็วส่งผลให้สถานการณ์เศรษฐกิจและความเชื่อมั่นของครัวเรือนรวมถึงภาคธุรกิจกลับมาเผชิญความไม่แน่นอนสูงอีกครั้ง ในระยะข้างหน้าภาวะเศรษฐกิจและกา... อ่านต่อ
2 เมษายน 2564
ศูนย์วิจัยกสิกรไทย คาดว่า เม็ดเงินใช้จ่ายของคนกรุงเทพฯ ในช่วงเทศกาลสงกรานต์ ปี 64 จะอยู่ที่ 24,000 ล้านบาท ยังคงหดตัวที่ 4.0% เมื่อเทียบกับสงกรานต์ปี 62 (ปี 2563 มีการเลื่อนวันหยุดสงกรานต์) โดยเฉพาะค่าใช้จ่ายในการท่องเที่ยว และค่าเดินทางกลับภูมิลำเนาที่ได้รับผลกระทบจากการว่างงาน และเดินทางกลับไปก่... อ่านต่อ
9 มีนาคม 2564
ดัชนีภาวะเศรษฐกิจและการครองชีพของครัวเรือนไทย (KR-ECI) ในเดือนก.พ. 64 และในอีก 3 เดือนข้างหน้าปรับเพิ่มขึ้นจากเดือนก่อนอยู่ที่ 39.5 และ 41.3 ตามลำดับ บ่งชี้ว่าครัวเรือนมีความกังวลเกี่ยวกับภาวะการครองชีพลดลงจากเดือนก่อน หลังสถานการณ์โควิด-19 เริ่มมีทิศทางที่ดีขึ้น จำนวนผู้ติดเชื้อรายวันปรับลดลงต่อเนื... อ่านต่อ
8 มีนาคม 2564
ศูนย์วิจัยกสิกรไทยคงประมาณการอัตราการเติบโตของเศรษฐกิจไทยปี 2564 ไว้ที่ 2.6% ในกรณีพื้นฐาน แต่ปรับกรอบประมาณการจากเดิมที่ 0.0-4.5% มาที่ 0.8%-3.0%... อ่านต่อ
15 กุมภาพันธ์ 2564
เศรษฐกิจไทยปี 2563 หดตัวน้อยกว่าที่คาดจากมาตรการภาครัฐที่ช่วยประคองเศรษฐกิจ เศรษฐกิจไทยปี 2563 หดตัวที่ร้อยละ -6.1 ซึ่งต่ำกว่าที่ศูนย์วิจัยกสิกรไทยประเมินไว้ที่ร้อยละ -6.7 เล็กน้อย โดยหลักๆ แล้วเป็นผลมาจากแรงกระตุ้นจากมาตรการฟื้นฟูทางเศรษฐกิจของภาครัฐ โดยเฉพาะโครงการคนละครึ่งที่มีเม็ดเงินใช้จ่ายผ่า... อ่านต่อ
9 กุมภาพันธ์ 2564
ดัชนีภาวะเศรษฐกิจและการครองชีพของครัวเรือนไทย (KR-ECI) ในเดือนม.ค. 64 และในอีก 3 เดือนข้างหน้าปรับลดต่ำลงจากเดือนก่อนค่อนข้างมากอยู่ที่ 37.2 และ 38.8 ตามลำดับ ดัชนีปรับลดลงในเกือบทุกองค์ประกอบ โดยเฉพาะภาวะการจ้างงานและรายได้ หลังการกลับมาแพร่ระบาดซ้ำของโควิด-19 ตั้งแต่ช่วงกลางเดือนธ.ค. 2563 เป็นต้นม... อ่านต่อ
2 กุมภาพันธ์ 2564
ศูนย์วิจัยกสิกรไทยมองว่า การระบาดของโควิด-19 ระลอกใหม่ ยังคงเป็นปัจจัยสำคัญที่กดดันการใช้จ่ายในช่วงเทศกาลตรุษจีนของคนกรุงเทพฯ ในปี 2564 ส่งผลให้คาดว่าเม็ดเงินใช้จ่ายในช่วงเทศกาลตรุษจีนของคนกรุงเทพฯ ในปี 2564 น่าจะหดตัวประมาณร้อยละ 10.4 (กรอบประมาณการหดตัวร้อยละ 8-12) เมื่อเทียบกับปีก่อน ที่ไม่ได้รั... อ่านต่อ
8 มกราคม 2564
ดัชนีภาวะเศรษฐกิจและการครองชีพของครัวเรือนไทย (KR-ECI) ในเดือนธ.ค. 63 และในอีก 3 เดือนข้างหน้าปรับลดลงจากเดือนก่อนอยู่ที่ 40.2 และ 40.7 ตามลำดับ ดัชนีปรับลดลงในเกือบทุกองค์ประกอบ โดยครัวเรือนมีความกังวลเพิ่มขึ้นเกี่ยวกับภาวะการจ้างงานและรายได้ หลังเริ่มมีการกลับมาแพร่ระบาดซ้ำของโควิด-19 ในช่วงกลางเด... อ่านต่อ
22 ธันวาคม 2563
จากสถานการณ์ COVID-19 รอบใหม่ที่เริ่มต้นจากตลาดกุ้งในสมุทรสาคร จนกระทั่งมีการล็อกดาวน์จังหวัดสมุทรสาครตั้งแต่ 19 ธันวาคม 2563 ถึง 3 มกราคม 2564 ขณะเดียวกันก็พบจำนวนผู้ติดเชื้อที่กระจายตัวไปยังพื้นที่ต่างๆ ในหลายจังหวัด ในเบื้องต้น ภายใต้กรณีที่ไม่พบคลัสเตอร์ของจำนวนผู้ติดเชื้อในจังหวัดอื่นหรือเหตุกา... อ่านต่อ
14 ธันวาคม 2563
ดัชนีภาวะเศรษฐกิจและการครองชีพของครัวเรือนไทย (KR-ECI) ในเดือนพ.ย. 2563 ปรับตัวดีขึ้นเป็นเดือนที่ 5 ติดต่อกันอยู่ที่ 41.0 ซึ่งเป็นระดับใกล้เคียงกับช่วงก่อนเกิดโรคระบาดโควิด-19ในเดือนม.ค.63 ที่ 40.6 เนื่องจากมุมมองต่อภาวะการจ้างงานและรายได้ โดยเฉพาะครัวเรือนเกษตรดีขึ้นต่อเนื่อง ขณะที่มาตรการกระตุ้นเศ... อ่านต่อ
8 ธันวาคม 2563
4 ธันวาคม 2563
จากผลการสำรวจฯ พบว่า หากไม่มีมาตรการกระตุ้นการใช้จ่ายของรัฐ คนกรุงเทพฯ ส่วนใหญ่ระมัดระวังการใช้จ่ายในช่วงเทศกาลปีใหม่ 2564 ค่าใช้จ่ายเฉลี่ยลดลงเล็กน้อย มาอยู่ที่ 5,300 บาทต่อคน เนื่องจากส่วนใหญ่ยังกังวลผลกระทบของโควิด-19 ในต่างประเทศที่อาจลากยาวไปอีก และปัจจัยกดดันจากภาระหนี้ครัวเรือน อย่างไรก็ดี ศู... อ่านต่อ
16 พฤศจิกายน 2563
เศรษฐกิจไทยไตรมาส 3/2563 หดตัวดีกว่าที่ตลาดคาดที่ -8.0% YoY โดยกิจกรรมทางเศรษฐกิจในไตรมาสที่ 3 ที่ฟื้นตัวดีส่วนหนึ่งเป็นผลมาจากความต้องการที่สะสมมาจากช่วงก่อนหน้าหลังจากมีการผ่อนปรนมาตรการล็อกดาวน์ในหลายประเทศรวมถึงไทย ทั้งนี้ เศรษฐกิจไทยในไตรมาสที่ 4/2563 คาดว่าจะยังหดตัวอยู่ใกล้เคียงกั... อ่านต่อ
11 พฤศจิกายน 2563
ดัชนีภาวะเศรษฐกิจและการครองชีพของครัวเรือนไทย (KR-ECI) ในเดือนต.ค.2563 และ ดัชนีภาวะเศรษฐกิจและการครองชีพของครัวเรือนไทยใน 3 เดือนข้างหน้าโดยรวมปรับตัวดีขึ้นเป็นเดือนที่ 4 ติดต่อกัน เนื่องจากมุมมองต่อภาวะการจ้างงานและรายได้ที่ดีขึ้น โดยเฉพาะครัวเรือนเกษตรมีมุมมองที่ดีขึ้นต่อภาวะการจ้างงานและรายได้ ส... อ่านต่อ
12 ตุลาคม 2563
ศูนย์วิจัยกสิกรไทยมองว่า มาตรการ ‘ช้อปดีมีคืน’ น่าจะเอื้อประโยชน์ให้กับผู้บริโภคที่มีรายได้มากกว่า 500,000 บาทต่อปีขึ้นไป หรือรายได้ประมาณ 42,000 บาทต่อเดือนขึ้นไป ซึ่งจากการสำรวจพฤติกรรมพบว่า ผู้บริโภคกลุ่มนี้สนใจที่จะใช้สิทธิจากมาตรการฯ ดังกล่าว มากกว่าร้อยละ 70.0 ของผู้ตอบแบบสอบถามทั้งหมด ขณะที่ ... อ่านต่อ
9 ตุลาคม 2563
ศูนย์วิจัยกสิกรไทย คาดว่า ในช่วงเทศกาลกินเจปี 2563 คนกรุงเทพฯ จะมีเม็ดเงินค่าใช้จ่ายตลอดช่วงเทศกาลคิดเป็นมูลค่า 3,930 ล้านบาท ลดลงร้อยละ 17.4 เมื่อเทียบกับเทศกาลกินเจปีก่อน เนื่องจากจำนวนผู้เข้าร่วมที่ลดลง ขณะที่คนเข้าร่วมบางส่วนก็ปรับพฤติกรรม โดยควบคุมค่าใช้จ่ายลง... อ่านต่อ
ดัชนีภาวะเศรษฐกิจและการครองชีพของครัวเรือนไทย (KR-ECI) ในเดือนก.ย. 2563 ปรับตัวดีขึ้นเล็กน้อยจากการสำรวจในช่วงเดือน ส.ค. 2563 บ่งชี้ว่าครัวเรือนไทยมีมุมมองที่ดีขึ้นเกี่ยวกับภาวะการครองชีพเมื่อเทียบกับเดือนก่อน ในขณะที่ดัชนีภาวะเศรษฐกิจและการครองชีพในอีก 3 เดือนข้างหน้า (3-month Expected KR-ECI) ที่ป... อ่านต่อ
8 ตุลาคม 2563
ศูนย์บริหารสถานการณ์เศรษฐกิจจากผลกระทบจากการระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (ศบศ.) ได้พิจารณาเห็นชอบมาตรการ “ช้อปดีมีคืน” เพื่อกระตุ้นการบริโภค โดยสามารถลดหย่อนภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาสูงสุดไม่เกิน 30,000 บาท ทั้งนี้ มาตรการ “ช็อปดีมีคืน” มีลักษณะเดียวกันกับโครงการช้อปช่วยชาติที่เคยออกมาก่อนหน้านี... อ่านต่อ