21 มีนาคม 2565
บริการ
แม้ธุรกิจจัดส่งอาหารไปยังที่พัก (Food Delivery) น่าจะยังได้รับแรงหนุนจากพฤติกรรมของผู้บริโภคในช่วงที่จำนวนผู้ติดเชื้อโควิดยังสูงและสถานประกอบการยังใช้ระบบการทำงานแบบ Hybrid Work ประกอบกับผู้ให้บริการแพลตฟอร์มและร้านอาหารยังคงทำการตลาดและอัดโปรโมชั่นเพื่อกระตุ้นการสั่งอาหารควบคู่ไปกับการขยายการใช้งาน... อ่านต่อ
FileSize KB
1 มีนาคม 2565
ศูนย์วิจัยกสิกรไทยมองว่า จากภาวะเงินเฟ้อและค่าครองชีพที่สูงขึ้น ความไม่แน่นอนของโควิด-19 รวมถึงผลกระทบจากความไม่สงบในยูเครนที่อาจยืดเยื้อ จะส่งผลต่อเศรษฐกิจและกำลังซื้อของผู้บริโภค ทำให้คาดว่า ปี 2565 ธุรกิจ B2C E-commerce กลุ่มสินค้า แม้อาจขยายตัวราว 13.5% หรือคิดเป็นมูลค่าตลาดประมาณ 5.65 แสนล้านบา... อ่านต่อ
28 กุมภาพันธ์ 2565
ศูนย์วิจัยกสิกรไทยคาดว่า ในปี 2565 ธุรกิจขนส่งสินค้าแบบควบคุมอุณหภูมิ (Cold-chain Logistics) ที่เน้นเจาะกลุ่ม B2C จะมีมูลค่าราว 2.9-3.0 พันล้านบาท ซึ่งจะเติบโตในกรอบ 15-20% (YoY) ชะลอจากปีก่อนหน้าที่คาดว่าจะขยายตัวราว 40-45% (YoY) ส่วนหนึ่งเป็นผลมาจากฐานสูงและปัจจัยเร่งชั่วคราวจากการล็อกดาวน์หมดลง ... อ่านต่อ
5 มกราคม 2565
แนวโน้มธุรกิจร้านอาหารปี 2565 ยังเป็นปีที่ต้องระมัดระวัง เนื่องจากตลาดยังมีปัจจัยเสี่ยงการระบาดของโควิด-19 สายพันธุ์ Omicron และสายพันธุ์อื่นที่อาจเกิดขึ้นได้ รวมถึงกำลังซื้อของผู้บริโภคที่ยังไม่กลับมาฟื้นตัวดี อย่างไรก็ดีธุรกิจร้านอาหารก็ยังคงมีปัจจัยบวกสำคัญจากนโยบายกระตุ้นเศรษฐกิจของภาครัฐที่จะเข... อ่านต่อ
8 ธันวาคม 2564
การระบาดของโควิด-19 มาตรการจำกัดการให้บริการร้านอาหาร และนโยบายการให้พนักงานทำงานที่พัก (Work from Home) พฤติกรรมของผู้บริโภคที่มีความคุ้นชินกับการใช้แอพพลิเคชั่นจัดส่งอาหารไปยังที่พัก และมาตรการคนละครึ่งของภาครัฐ ทำให้ทั้งปี 2564 มูลค่าตลาดของการสั่งอาหารไปส่งยังที่พัก Food Delivery (ฐานคำนวณใหม่ ไ... อ่านต่อ
3 พฤศจิกายน 2564
การผ่อนคลายมาตรการให้บริการในร้านอาหาร ช่วยหนุนธุรกิจร้านอาหารที่ให้บริการแบบเต็มรูปแบบ (Full-Service Restaurants) โดย ศูนย์วิจัยกสิกรไทย มองว่า ผลจากมาตรการดังกล่าวน่าจะช่วยให้ธุรกิจร้านอาหารที่ให้บริการเต็มรูปแบบมีรายได้เพิ่มขึ้นประมาณ 2,000 ล้านบาท ส่งผลทำให้ทั้งปี 2564 มูลค่าธุรกิจร้านอาหารให้บร... อ่านต่อ
15 ตุลาคม 2564
ศูนย์วิจัยกสิกรไทยมองว่า จากสถานการณ์โควิดและการเข้าถึงวัคซีนที่เริ่มมีสัญญาณบวก จนทำให้ภาครัฐมีการคลายมาตรการล็อกดาวน์กิจกรรมต่างๆ ทางเศรษฐกิจเพิ่มเติมในช่วงไตรมาสสุดท้ายของปีนี้ ซึ่งเป็นจังหวะที่ธุรกิจต่างๆ ก็คงจะมีการออกแคมเปญทำตลาดเพื่อกระตุ้นการใช้จ่ายมากขึ้นด้วย ส่งผลให้คาดว่า ยอดขายของธุรกิจค... อ่านต่อ
8 ตุลาคม 2564
ศูนย์วิจัยกสิกรไทยคาดว่า รายได้ของธุรกิจโรงพยาบาลเอกชนจะขยายตัว 11.8% เทียบกับปี 2563 ที่หดตัว 12.5% ซึ่งการฟื้นตัวดังกล่าวส่วนหนึ่งน่าจะมาจากฐานที่ต่ำในปีก่อนหน้า และยังไม่กลับเข้าสู่ภาวะปกติก่อนช่วงโควิด โดยส่วนใหญ่เป็นการขยายตัวของรายได้ที่มาจากคนไข้ในประเทศที่ทำการตรวจและรักษาโควิด รวมถึงกลุ่ม E... อ่านต่อ
14 กันยายน 2564
ศูนย์วิจัยกสิกรไทยมองว่า แม้ว่าโควิด-19 จะเป็นตัวเร่งให้มูลค่าตลาด B2C E-commerce มีแนวโน้มขยายตัวสูงกว่าธุรกิจค้าปลีกในภาพรวม แต่สัญญาณดังกล่าวส่งผลต่อภาพการแข่งขันที่ยากและรุนแรงขึ้นจากการเพิ่มขึ้นของจำนวนผู้เล่น ท่ามกลางกำลังซื้อของผู้บริโภคส่วนใหญ่ที่ยังคงใช้จ่ายอย่างระมัดระวัง และการเติบโตของ E... อ่านต่อ
8 กันยายน 2564
การจัดเก็บภาษีมูลค่าเพิ่มจากผู้ให้บริการดิจิทัลแพลตฟอร์มต่างประเทศ (VAT for Electronic Service: VES) เป็นหนึ่งในรูปแบบการจัดเก็บภาษีในโลกของเศรษฐกิจดิจิทัล (Taxation of the Digital Economy) โดยที่ผ่านมา หลายประเทศได้มีการออกกฎหมายการจัดเก็บภาษีจากผู้ให้บริการดิจิทัลแพลตฟอร์มจากต่างประเทศในหลากหลายรู... อ่านต่อ
1 กันยายน 2564
ศูนย์วิจัยกสิกรไทย ประเมินว่า ศูนย์วิจัยกสิกรไทย ประเมินว่า ในปี 2564 มูลค่าการใช้จ่ายสำหรับบริการทางการแพทย์ที่บ้านของไทย จะอยู่ที่ 2,200 – 2,300 ล้านบาท เติบโตได้เล็กน้อยที่ 2.4% (YoY) แม้ว่าตลาดจะเติบโตได้จากการเพิ่มขึ้นของผู้ให้บริการ ประเภทการบริการที่หลากหลายขึ้น รวมทั้งสถานการณ์โควิด-19 ที่ทำ... อ่านต่อ
19 สิงหาคม 2564
สถานการณ์การระบาดของโควิด-19 ในประเทศที่ยังไม่คลี่คลาย จำนวนผู้ติดเชื้อใหม่รายวันที่ยังทรงตัวสูง ทำให้ภาครัฐจำเป็นต้องยกระดับของมาตรการควบคุมการแพร่ระบาด ซึ่งรวมถึงการจำกัดการให้บริการของร้านอาหารเหลือเพียงช่องทางการสั่งซื้อที่หน้าร้านและการสั่งผ่านแอปพลิเคชั่นจัดส่งอาหาร (Food Delivery) ข้อจำกัดดัง... อ่านต่อ
6 สิงหาคม 2564
ศูนย์วิจัยกสิกรไทยประเมินว่า มูลค่าการใช้จ่ายสำหรับอุปกรณ์ทางการแพทย์และอำนวยความสะดวกและความปลอดภัยสำหรับผู้สูงอายุในไทย ปี 2564 จะอยู่ที่ 8,000 – 9,000 ล้านบาท และคาดว่าจะเติบได้เฉลี่ย 7.8% ต่อปี ในระยะ 5 ปีข้างหน้า สอดคล้องกับการเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุของไทย โดยสัดส่วนมูลค่าตลาดส่วนใหญ่ยังเป็นเม็ด... อ่านต่อ
4 สิงหาคม 2564
ศูนย์วิจัยกสิกรไทยมองว่า ธุรกิจขนส่งสินค้าออนไลน์ หรือ Last-mile delivery เป็นหนึ่งในธุรกิจที่ขยายตัวตามการเติบโตของธุรกิจ E-commerce โดยเฉพาะในช่วงที่มีการระบาดของโควิด ทำให้ผู้บริโภคกังวลในเรื่องของความปลอดภัยและงดทำกิจกรรมนอกบ้าน ส่งผลให้ผู้บริโภคต่างมีการปรับพฤติกรรมการใช้จ่ายและหันมาซื้อสินค้าบ... อ่านต่อ
27 กรกฎาคม 2564
ธุรกิจโรงพยาบาลเอกชนเป็นหนึ่งในธุรกิจที่ได้รับผลกระทบจากโควิด-19 โดยเฉพาะกลุ่มที่พึ่งพารายได้จากคนไข้ต่างชาติที่เป็น Medical Tourism ซึ่งไม่สามารถเดินทางเข้ามาใช้บริการในประเทศได้เช่นเดียวกับนักท่องเที่ยวต่างชาติ โดยศูนย์วิจัยกสิกรไทยคาดว่า การระบาดของโควิด-19 ภายในประเทศระลอกนี้ที่สถานการณ์ยังคงรุน... อ่านต่อ
14 กรกฎาคม 2564
ศูนย์วิจัยกสิกรไทยประเมินว่า เม็ดเงินการใช้จ่ายสำหรับ Health Tech ในไทยปี 2564 จะอยู่ที่ประมาณ 300-400 ล้านบาท โดยมูลค่าตลาดส่วนใหญ่ยังเป็นรูปแบบ B2B ซึ่งให้บริการผ่านสถานพยาบาลรายใหญ่เป็นหลัก และเป็นเทคโนโลยีที่ไม่ซับซ้อน อย่างไรก็ตาม ศูนย์วิจัยกสิกรไทยมองว่า ในระยะ 3 -5 ปีข้างหน้า ตลาด ... อ่านต่อ
5 กรกฎาคม 2564
การระบาดของโควิด-19 ในรอบนี้ที่ยาวนานและการยกระดับมาตรการควบคุมในเขตกรุงเทพและปริมณฑล ได้ส่งผลกระทบเป็นอย่างมา ต่อธุรกิจร้านอาหาร โดยเฉพาะอย่างยิ่งธุรกิจร้านอาหารที่รายได้หลักมาจากการให้บริการนั่งทานในร้าน (Full Service) กอปรกับความไม่แน่นอนของสถานการณ์การแพร่ระบาด ซึ่งส่งผลต่อความมั่น... อ่านต่อ
21 มิถุนายน 2564
ศูนย์วิจัยกสิกรไทยยังคงมีมุมมองที่ระมัดระวังต่อค้าปลีกในช่วงที่เหลือของปี 2564 โดยคาดว่า ยอดขายค้าปลีกทั้งปีจะยังหดตัวร้อยละ 2.0 เมื่อเทียบกับปีก่อน อย่างไรก็ตาม จุดที่ต้องจับตา คือ การฉีดวัคซีนในช่วง 2-3 เดือนจากนี้ (มิ.ย.-ก.ย.) รวมถึงไม่มีการระบาดระลอกใหม่ที่รุนแรงเกิดขึ้น ซึ่งคาดว่าจะมีผลต่อความเ... อ่านต่อ
8 มิถุนายน 2564
สถานการณ์โควิด-19 ที่ยังพบคลัสเตอร์การระบาดใหม่ในหลายพื้นที่ ทำให้การกลับมาเปิดภาคเรียนในวันที่ 14 มิ.ย. 64 ยังมีความไม่แน่นอนสูง ซึ่งหนึ่งในแนวทางลดผลกระทบ คือ การเรียนออนไลน์ ศูนย์วิจัยกสิกรไทย มองว่า การเรียนออนไลน์ เป็นภาวะจำเป็นในช่วงที่ยังมีการระบาดของโรคโควิด แต่อุปสรรคที่สำคัญคือ ความไม่พร้อ... อ่านต่อ
30 เมษายน 2564
ธุรกิจร้านอาหารได้รับผลกระทบเพิ่มเติมจากการแพร่ระบาดของโควิด-19 รอบใหม่ โดยการประกาศยกระดับห้ามรับประทานอาหารภายในร้านของพื้นที่ควบคุมสูงสุดและเข้มงวด (สีแดงเข้ม) ประกอบกับการชะลอตัวของเศรษฐกิจและความเสี่ยงต่อการเลิกจ้างงาน กดดันกำลังซื้อของผู้บริโภคในประเทศให้มีการระมัดระวังการใช้จ่ายมากยิ่งขึ้น จ... อ่านต่อ
26 เมษายน 2564
ผลกระทบจากโควิด-19 ระลอกสาม จะฉุดรั้งมูลค่าการใช้จ่ายของผู้บริโภคในกลุ่มสินค้าอาหารและเครื่องดื่มปี 2564 ส่งผลให้ผู้ประกอบการยังคงเผชิญกับความยากลำบากในการเพิ่มยอดขายในปีนี้ ศูนย์วิจัยกสิกรไทย ประเมินว่า ในกรณีฐาน หากสามารถควบคุมการแพร่ระบาดได้ภายใน 3 เดือนข้างหน้า (โดยจำนวนผู้ติดเชื้อรายใหม่ใกล้เคี... อ่านต่อ
18 กุมภาพันธ์ 2564
ศูนย์วิจัยกสิกรไทยมองว่า นอกเหนือจากความแตกต่างในเรื่องของรายได้ของผู้บริโภคที่มีผลต่อการทำการตลาดของผู้ประกอบการแล้ว การเปลี่ยนแปลงของกลุ่มผู้บริโภคจากความแตกต่างของช่วงวัย (Generation Gap) ที่ซับซ้อนขึ้น โดยเฉพาะกลุ่มผู้สูงอายุ (Elderly) กับกลุ่มคนรุ่นใหม่ (Gen ME) ซึ่งคาดว่าจะมีสัดส่วนรวมกันกว่าร... อ่านต่อ