Display mode (Doesn't show in master page preview)

บทวิเคราะห์เศรษฐกิจ

20 มีนาคม 2566

เศรษฐกิจต่างประเทศ

การประชุม FOMC วันที่ 21 – 22 มี.ค. คาดเฟดมีแนวโน้มขึ้นดอกเบี้ยนโยบายอีกร้อยละ 0.25 ท่ามกลางเงินเฟ้อที่ยังอยู่ในระดับสูง (มองเศรษฐกิจ ฉบับที่ 3994)

การประชุม FOMC วันที่ 21 – 22 มี.ค. คาดเฟดมีแนวโน้มขึ้นดอกเบี้ยนโยบายอีกร้อยละ 0.25 ท่ามกลางเงินเฟ้อที่ยังอยู่ในระดับสูง ขณะที่เฟดคงส่งสัญญาณให้ความเชื่อมั่นต่อตลาดการเงินว่าประเด็นธนาคารสหรัฐฯ ปิดกิจการจะไม่ก่อให้เกิดปัญหาเชิงระบบในวงกว้าง... อ่านต่อ

14 มีนาคม 2566

เศรษฐกิจต่างประเทศ

ส่องมาตรการรับมือปัญหาแบงก์ในสหรัฐฯ ... ทำไมถึงไม่เรียกว่าเป็นการ Bailout แบงก์ (กระแสทรรศน์ ฉบับที่ 3388)

ส่องมาตรการรับมือปัญหาแบงก์ในสหรัฐฯ ... ทำไมถึงไม่เรียกว่าเป็นการ Bailout แบงก์... อ่านต่อ

13 มีนาคม 2566

เศรษฐกิจต่างประเทศ

ปัญหาแบงก์ในสหรัฐฯ ล้ม...กระทบไทยจำกัด แต่ตลาดเงินยังผันผวนอีกระยะ (กระแสทรรศน์ ฉบับที่ 3385)

เป็นที่แน่นอนว่า ปัญหาของธนาคารพาณิชย์ในสหรัฐฯ รอบนี้ไม่มีสถานการณ์ Too Big to Fail เกิดขึ้น เพราะมีการปิดตัวลงจริงของสถาบันการเงินที่เผชิญปัญหา ขณะหน่วยงานของทางการสหรัฐฯ และธนาคารกลางสหรัฐฯ เร่งออกมาตรการมุ่งเป้าดูแลในส่วนของผู้ฝากเงินและสถาบันการเงินอื่นๆ ที่ยังดำเนินการอยู่เพื่อสกัดไม่ให้ผลกระทบ... อ่านต่อ

27 มกราคม 2566

เศรษฐกิจต่างประเทศ

การประชุม FOMC รอบแรกของปี วันที่ 31 ม.ค. - 1 ก.พ. 66 คาดเฟดปรับขึ้นดอกเบี้ยนโยบายในอัตราที่ชะลอลงที่ร้อยละ 0.25 หลังเงินเฟ้อมีทิศทางอ่อนแรงลง (มองเศรษฐกิจ ฉบับที่ 3991)

คาดเฟดปรับขึ้นดอกเบี้ยนโยบายในอัตราที่ชะลอลงที่ร้อยละ 0.25 หลังเงินเฟ้อมีทิศทางอ่อนแรงลง อย่างไรก็ดี เส้นทางดอกเบี้ยนโยบายในระยะข้างหน้าคงขึ้นอยู่กับข้อมูลเศรษฐกิจและเงินเฟ้อที่ออกมาเป็นสำคัญ... อ่านต่อ

17 มกราคม 2566

เศรษฐกิจต่างประเทศ

โควิดเป็นศูนย์กดดันเศรษฐกิจจีนปี 2565 โตที่ 3.0% ต่ำที่สุดในรอบกว่า 50 ปี (มองเศรษฐกิจ ฉบับที่ 3987)

ในปี 2566 เศรษฐกิจจีนมีแนวโน้มฟื้นตัวดีขึ้นจากการยกเลิกนโยบายโควิดเป็นศูนย์ แต่คาดว่าระดับการเติบโตจะยังคงต่ำกว่าช่วงก่อนเกิดโควิด-19 ท่ามกลางความเสี่ยงจากภาคอสังหาริมทรัพย์และปัญหาทางรัฐภูมิศาสตร์ที่ยังคงอยู่... อ่านต่อ