1 เมษายน 2565
สถาบันการเงิน
ยอดคงค้างหนี้ครัวเรือนไทยในปี 2564 เติบโต 3.9% ใกล้เคียงกับ 4.0% ในปี 2563 แต่เมื่อเทียบกับขนาดเศรษฐกิจที่ยังเติบโตช้า ทำให้สัดส่วนหนี้ครัวเรือนต่อจีดีพียังคงขยับสูงขึ้นมาที่ระดับ 90.1% ในปี 2564 จากระดับ 89.7% ในปี 2563 อย่างไรก็ดี สัดส่วนหนี้ครัวเรือนดังกล่าวยังคงเป็นระดับสูง และเป็นหนึ่งในปัญหาเ... อ่านต่อ
FileSize KB
29 มีนาคม 2565
ในการประชุมกนง. ที่จะถึงนี้ คาดว่ากนง. จะคงดอกเบี้ยนโยบายที่ 0.5% เพื่อสนับสนุนการฟื้นตัวทางเศรษฐกิจที่มีความเสี่ยงมากขึ้นจากวิกฤติความขัดแย้งระหว่างรัสเซียและยูเครน อย่างไรก็ดี กนง. คงเผชิญความท้าทายมากขึ้นในการรักษาเสถียรภาพด้านราคาท่ามกลางแรงกดดันเงินเฟ้อที่พุ่งสูงขึ้น ทั้งนี้ วิกฤติรัสเซีย-ยูเ... อ่านต่อ
24 กุมภาพันธ์ 2565
ภาพรวมธุรกิจประกันชีวิตในปี 2564 กลับมาเป็นบวกได้เล็กน้อยหลังจากที่หดตัวลง 2 ปีติดต่อกัน โดยเป็นการเติบโตจากการผลักดันยอดขายกรมธรรม์รายใหม่ โดยเฉพาะประเภทจ่ายครั้งเดียว ขณะที่เบี้ยปีต่ออายุไม่โต ซึ่งแม้ว่าในปี 2565 ภาพรวมธุรกิจประกันยังอยู่ในช่วงการปรับฐานต่อเนื่องจากปีก่อน เนื่องจากมีกรมธรรม์ที่ครบ... อ่านต่อ
7 กุมภาพันธ์ 2565
... อ่านต่อ
30 ธันวาคม 2564
จากข้อมูลเงินให้กู้ยืมแก่ภาคครัวเรือนล่าสุด สะท้อนว่า แม้ครัวเรือนไทยจะยังคงก่อหนี้เพิ่มขึ้น แต่ก็มีสัญญาณระมัดระวังมากขึ้นสอดคล้องกับสถานการณ์เศรษฐกิจที่ยังคงได้รับผลกระทบจากการระบาดของโควิด-19 โดยยอดคงค้างหนี้ครัวเรือนไทยในไตรมาส 3/2564 อยู่ที่ระดับ 14.35 ล้านล้านบาท ขยับขึ้นประมาณ 4.2% YoY เมื่อเ... อ่านต่อ
23 ธันวาคม 2564
ความไม่แน่นอนของสถานการณ์โควิด-19 กลับมาอีกครั้งในช่วงรอยต่อระหว่างปี 2564 เข้าสู่ปี 2565 ซึ่งปัจจัยดังกล่าวนอกจากจะเป็นตัวแปรที่มีผลต่อจังหวะการฟื้นตัวของเศรษฐกิจไทยแล้ว ยังมีนัยต่อเนื่องมายังการดำเนินธุรกิจของธนาคารพาณิชย์ในปี 2565 ด้วยเช่นกัน ซึ่งหากว่า ไทยสามารถตีกรอบควบคุมการระบาดของโอมิครอนได้... อ่านต่อ
5 พฤศจิกายน 2564
ศูนย์วิจัยกสิกรไทยประเมินว่า ในการประชุมคณะกรรมการนโยบายการเงิน (กนง.) ในวันที่ 10 พ.ย. นี้ กนง. จะพิจารณาคงอัตราดอกเบี้ยนโยบายที่ 0.50% หลังจากเศรษฐกิจไทยมีปัจจัยบวกจากการเปิดประเทศและการคลายล็อกดาวน์อย่างต่อเนื่อง ซึ่งส่งผลให้กิจกรรมทางเศรษฐกิจภายในประเทศทั้งการบริโภคและการลงทุนมีแนวโน้มฟื้นตัวดีข... อ่านต่อ
22 ตุลาคม 2564
ศูนย์วิจัยกสิกรไทย มองว่า การผ่อนเกณฑ์การกำกับดูแลสินเชื่อเพื่อที่อยู่อาศัยและสินเชื่ออื่นที่เกี่ยวเนื่อง (มาตรการ LTV) โดยปรับเพดาน LTV เป็น 100% ชั่วคราวจนถึงสิ้นปี 2565 จะช่วยเพิ่มศักยภาพในการซื้อที่อยู่อาศัย ท่ามกลางสภาพแวดล้อมของตลาดที่อยู่อาศัยและการปล่อยสินเชื่อบ้านของสถาบันการเงินในช่วงที่เห... อ่านต่อ
19 ตุลาคม 2564
ศูนย์วิจัยกสิกรไทยคาดว่า กำไรสุทธิของระบบธนาคารพาณิชย์จดทะเบียนในประเทศ (ระบบธ.พ. ไทย) อยู่ที่กรอบ 3.25-3.35 หมื่นล้านบาทในไตรมาสที่ 3/2564 ลดลงเมื่อเทียบกับไตรมาส 2/2564 ที่มีกำไรสุทธิสูงถึง 5.72 หมื่นล้านบาท... อ่านต่อ
1 ตุลาคม 2564
ข้อมูลเงินให้กู้ยืมแก่ภาคครัวเรือนล่าสุดในไตรมาส 2/2564 ยังคงเติบโตต่อเนื่อง โดยยอดคงค้างหนี้ครัวเรือนไทยในไตรมาส 2/2564 ขยับขึ้นมาอยู่ที่ 14.27 ล้านล้านบาท คิดเป็นสัดส่วน 89.3% ต่อจีดีพี ชะลอลงจากระดับ 90.6% ต่อจีดีพีซึ่งเป็นระดับสูงสุดในรอบ 18 ปีที่ทำไว้ในไตรมาส 1/2564 เนื่องจากเศรษฐกิจไทยในช่วงไต... อ่านต่อ
23 กันยายน 2564
ผลการประชุมธนาคารกลางสหรัฐฯ หรือเฟดรอบล่าสุด (21-23 ก.ย.) สะท้อนสัญญาณเตรียมลดวงเงินซื้อสินทรัพย์ผ่านมาตรการ QE ในไม่กี่เดือนข้างหน้า ขณะที่ตลาดประเมินโอกาสการขึ้นอัตราดอกเบี้ยนโยบายของสหรัฐฯ ในปี 2565 เพิ่มมากขึ้นตามภาพสะท้อนของ Dot Plot ล่าสุด แม้จะยังคงต้องรอประเมินสถานการณ์เศรษฐกิจและการระบาดของ... อ่านต่อ
ศูนย์วิจัยกสิกรไทยประเมินว่า ในการประชุมคณะกรรมการนโยบายการเงิน (กนง.) ในวันที่ 29 ก.ย. นี้ กนง. จะพิจารณาคงอัตราดอกเบี้ยนโยบายที่ 0.50% หลังจากจำนวนผู้ติดเชื้อโควิด-19 ในประเทศเริ่มลดลง ทั้งนี้ จากการประชุมกนง. ครั้งที่แล้วในเดือนส.ค. ที่ผ่านมา กนง. มีมติคงดอกเบี้ยนโยบายอย่างไม่เป็นเอกฉันท์ที่ 4 ต่... อ่านต่อ
22 กันยายน 2564
นับจากเดือนสิงหาคมที่ผ่านมา หนึ่งในประเด็นติดตามสำคัญคงหนีไม่พ้นทิศทางผลตอบแทนตราสารหนี้ไทยที่กลับมาไต่ระดับเพิ่มขึ้นชัดเจน แม้ว่า ธปท.ยังคงอัตราดอกเบี้ยนโยบายในระดับต่ำทั้งในปีนี้และคงจะรวมถึงปีหน้า ท่ามกลางความไม่แน่นอนของการฟื้นตัวทางเศรษฐกิจที่ยังมีอยู่ ทั้งนี้ การเพิ่มขึ้นของผลตอบแทนตราสารหนี้ไ... อ่านต่อ
7 กันยายน 2564
ในช่วงที่ผ่านมา คริปโทเคอร์เรนซีให้อัตราผลตอบแทนสูง เมื่อเทียบกับสินทรัพย์อื่น ทำให้เป็นที่ดึงดูดกลุ่มนักลงทุนรายใหม่เข้ามาในตลาดอย่างต่อเนื่อง สำหรับประเทศไทยก็เช่นกัน ได้มีนักลงทุนรายย่อยรายใหม่ๆ เข้ามาในตลาดเพิ่มขึ้น แต่ก็ยังอยู่ในวงจำกัด โดยมักกระจุกตัวอยู่ในกลุ่มคนเมืองที่มีรายได้และเงินออมสูง ... อ่านต่อ
6 กันยายน 2564
สถานการณ์การระบาดของไวรัสโควิด-19 ที่กินระยะเวลาเกือบสองปี สะท้อนภาพหลายอย่างที่ทำให้ฝ่ายต่างๆ ต้องกลับมาขบคิด ทั้งภาพผลกระทบจากเฉพาะเหตุการณ์โควิดเอง รวมถึงภาพปัญหาที่สะสมไว้เดิมในแต่ละหน่วยเศรษฐกิจที่โควิดขยายปัญหาให้ใหญ่ขึ้น ทั้งนี้ หากย้อนกลับมามองธุรกิจธนาคารพาณิชย์ เพื่อใช้เป็นแว่นขยายที่มองย้... อ่านต่อ
6 สิงหาคม 2564
ในอีกไม่กี่วันข้างหน้าหรือ 11 สิงหาคม 2564 วงเงินฝากซึ่งจะได้รับความคุ้มครองตามกฎหมายคุ้มครองเงินฝากจะลดลงมาอยู่ที่ 1 ล้านบาทต่อบัญชีต่อรายสถาบันการเงิน ซึ่งในกรณีของไทยนั้น เป็นการนับถอยหลังกระบวนการทยอยลดการคุ้มครองเงินฝากตามลักษณะจำนวน (Blanket Guarantee) ที่ใช้ระยะเวลาประมาณ 1 ทศวรรษ (ตั้งแต่ 1... อ่านต่อ
30 กรกฎาคม 2564
ศูนย์วิจัยกสิกรไทยประเมินว่า ในการประชุมคณะกรรมการนโยบายการเงิน (กนง.) ในวันที่ 4 ส.ค. นี้ กนง. จะพิจารณาคงอัตราดอกเบี้ยนโยบายที่ 0.50% เพื่อสนับสนุนการฟื้นตัวของเศรษฐกิจท่ามกลางปัจจัยเสี่ยงที่เพิ่มสูงขึ้นจากการแพร่ระบาดของโควิด-19... อ่านต่อ
27 กรกฎาคม 2564
ข้อมูลจากธ.พ. 1.1 สะท้อนว่า ภาพรวมเงินให้สินเชื่อและดอกเบี้ยค้างรับสุทธิของธนาคารพาณิชย์จดทะเบียนในประเทศ 19 แห่ง (ธ.พ.ไทย) ณ สิ้นเดือน มิ.ย. 2564 ขยับขึ้นจากเดือนก่อนหน้าประมาณ 7.84 หมื่นล้านบาท ซึ่งทำให้ศูนย์วิจัยกสิกรไทยประเมินว่า อัตราการเติบโตของสินเชื่อระบบธ.พ.ไทยน่าจะปิดสิ้นไตรมาส 2/2564 ที่... อ่านต่อ
16 กรกฎาคม 2564
ศูนย์วิจัยกสิกรไทยคาดว่า กำไรสุทธิของระบบธนาคารพาณิชย์จดทะเบียนในประเทศ หรือระบบ ธ.พ.ไทยในไตรมาส 2/2564 อาจสูงขึ้นเมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันปีก่อนซึ่งถูกกระทบจากโควิดรอบแรก ... อ่านต่อ
9 กรกฎาคม 2564
เงินบาทอ่อนค่าลงอย่างรวดเร็วท่ามกลางสัญญาณความเสี่ยงที่ชัดเจนมากขึ้นจากสถานการณ์การระบาดของโควิด 19 ระลอกที่สามที่มีแนวโน้มควบคุมได้ยาก เพราะต้องรับมือกับโควิด 19 ที่เป็นเชื้อกลายพันธุ์ โดยเงินบาททำสถิติอ่อนค่าสุดในรอบเกือบ 15 เดือนที่ 32.73 บาทต่อดอลลาร์ฯ (ระหว่างชั่วโมงการซื้อ-ขายในวันที่ 9 ก.ค. 2... อ่านต่อ
2 กรกฎาคม 2564
ข้อมูลเงินให้กู้ยืมแก่ภาคครัวเรือนล่าสุดในไตรมาส 1/2564 สะท้อนสถานการณ์หนี้สินของประชาชนที่ยังคงมีอัตราการเติบโตเร็วกว่าเศรษฐกิจไทยในภาพรวม โดยยอดคงค้างหนี้ครัวเรือนไทยในไตรมาส 1/2564 ขยับขึ้นมาอยู่ที่ 14.13 ล้านล้านบาท คิดเป็นสัดส่วนประมาณ 90.5% ต่อจีดีพี สูงสุดในรอบ 18 ปีตามสถิติที่มีการเก็บรวบรวม... อ่านต่อ
21 มิถุนายน 2564
ศูนย์วิจัยกสิกรไทยประเมินว่า ในการประชุมคณะกรรมการนโยบายการเงิน (กนง.) ในวันที่ 23 มิ.ย. นี้ กนง. จะพิจารณาคงอัตราดอกเบี้ยนโยบายที่ 0.50% เพื่อสนับสนุนการฟื้นตัวของเศรษฐกิจขณะที่แรงกดดันจากเงินเฟ้อยังคงมีจำกัด เศรษฐกิจไทยยังคงเผชิญความเสี่ยงอย่างมากจากการแพร่ระบาดโควิด-19 ที่ยังมีจำนวนผู้ติดเชื้อยัง... อ่านต่อ
25 พฤษภาคม 2564
แม้สถานการณ์การระบาดของไวรัสโควิด 19 จะยังคงยืดเยื้อ และส่งผลทำให้การฟื้นตัวทางเศรษฐกิจต้องล่าช้าออกไป แต่เมื่อดูในมิติของปัจจัยที่กระทบสภาพคล่องในระบบการเงินไทยปีนี้ กลับมีมากขึ้น ทั้งจากการระดมทุนของภาครัฐที่ยังมีความจำเป็นต้องเพิ่มการใช้จ่ายเพื่อประคองเศรษฐกิจ การระดมทุนภาคเอกชนทั้งที่ผ่านการออกห... อ่านต่อ
7 พฤษภาคม 2564
การแพร่ระบาดของโควิด-19 เป็นแรงหนุนสำคัญที่ทำให้การทำธุรกรรมผ่าน Mobile Banking และ e-Wallet มีการเร่งการเติบโตสูงขึ้น สะท้อนจากผลสำรวจของศูนย์วิจัยกสิกรไทย ที่พบว่า ผู้บริโภคไทยโดยภาพรวมมีการโอนเงินและชำระค่าสินค้าและบริการผ่าน Mobile banking และ e-Wallet อยู่ที่ 19 ครั้งต่อสัปดาห์ ซึ่งเพิ่มมากกว่า... อ่านต่อ
30 เมษายน 2564
ธุรกิจบัตรเครดิตเป็นอีกหนึ่งธุรกิจที่ได้รับผลกระทบจากโควิด 19 เนื่องจากบัตรเครดิตมีสถานะเป็นเครื่องมือในการชำระค่าบริการและสินค้าแทนเงินสด ดังนั้นเมื่อกิจกรรมทางเศรษฐกิจมีทิศทางชะลอตัวจึงส่งผลทำให้ยอดการใช้จ่ายผ่านบัตรและสินเชื่อบัตรเครดิตปรับตัวลดลงตาม ... อ่านต่อ
ศูนย์วิจัยกสิกรไทยประเมินว่า ในการประชุมคณะกรรมการนโยบายการเงิน (กนง.) ในวันที่ 5 พ.ค. นี้ กนง. จะพิจารณาคงอัตราดอกเบี้ยนโยบายที่ 0.50% เพื่อสนับสนุนการฟื้นตัวของเศรษฐกิจท่ามกลางความไม่แน่นอนสูง สถานการณ์การแพร่ระบาดโควิด-19 ระลอกใหม่ยังคงรุนแรง โดยจำนวนผู้ติดเชื้อยังคงเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องมากกว่า... อ่านต่อ
22 เมษายน 2564
ศูนย์วิจัยกสิกรไทย รวบรวมข้อมูลสำคัญทางการเงินจากรายงานงบการเงินรวมของธนาคารพาณิชย์และบริษัทย่อย 9 แห่ง (งบการเงินรวมฯ) ประจำไตรมาสที่ 1/2564 โดยข้อมูลที่ออกมาล่าสุดสะท้อนว่า ธนาคารพาณิชย์และบริษัทย่อยบันทึกกำไรสุทธิ 46,071 ล้านบาท เพิ่มขึ้น 47.4% QoQ เมื่อเทียบกับไตรมาส 4/2563 ที่มีกำไรสุทธิ 31,25... อ่านต่อ
12 เมษายน 2564
ศูนย์วิจัยกสิกรไทยคาดว่า กำไรสุทธิของระบบธนาคารพาณิชย์จดทะเบียนในประเทศ (ระบบธ.พ. ไทย) อาจขยับขึ้นในไตรมาส 1/2564 โดยแม้รายได้จากธุรกิจหลักของธ.พ. ไทยจะยังไม่ฟื้นตัวกลับมา เนื่องจากกิจกรรมทางเศรษฐกิจในหลายๆ ส่วนของไทยยังคงได้รับผลกระทบจากสถานการณ์การระบาดของโควิด 19 แต่ระดับกำไรสุทธิในไตรมาส 1/2564... อ่านต่อ
1 เมษายน 2564
ข้อมูลเงินให้กู้ยืมแก่ภาคครัวเรือนล่าสุดในไตรมาส 4/2563 บ่งชี้ว่า หนี้ครัวเรือนของไทยปิดสิ้นปี 2563 ที่ผ่านมา ด้วยภาพของระดับหนี้ครัวเรือนที่ทะลุ 14 ล้านล้านบาท ซึ่งนับเป็นจุดสูงสุดใหม่ในรอบ 18 ปีตามสถิติที่มีการเก็บรวบรวมของธนาคารแห่งประเทศไทย (ธปท.) โดยหนี้ครัวเรือนดังกล่าวคิดเป็นสัดส่วน 89.3% เมื... อ่านต่อ
ปัจจุบัน กระแสของ Digital-Only Bank หรือ Digital Bank กำลังมาแรง โดยธนาคารกลางของหลายประเทศในเอเชียทยอยให้ใบอนุญาตประกอบกิจการ Digital Bank ในประเทศ ท่ามกลางความคาดหวังว่าจะเพิ่มการแข่งขัน และยกระดับการเข้าถึงบริการทางการเงินให้กับผู้บริโภค... อ่านต่อ
25 มีนาคม 2564
สินเชื่อนาโนไฟแนนซ์ หรือสินเชื่อรายย่อยเพื่อการประกอบอาชีพภายใต้การกำกับ ซึ่งมีกลุ่มเป้าหมายเป็นบุคคลธรรมดาที่อาจไม่มีรายได้ประจำ ไม่เคยเดินบัญชีกับธนาคาร และไม่มีหลักประกัน ประสบภาวะถดถอยติดต่อกันในปี 2562-2563 โดยมีปัจจัยหลักจากผู้ประกอบการรายใหญ่ยุติการให้สินเชื่อใหม่เนื่องจากต้นทุนการดำเนินงานที... อ่านต่อ
23 มีนาคม 2564
ศูนย์วิจัยกสิกรไทยประเมินว่า ในการประชุมคณะกรรมการนโยบายการเงิน (กนง.) ในวันที่ 24 มีนาคมนี้ กนง. จะพิจารณาคงอัตราดอกเบี้ยนโยบายที่ 0.50% หลังภาครัฐมีมาตรการกระตุ้นเศรษฐกิจเพื่อดูแลผลกระทบจากโควิดระลอกใหม่อย่างต่อเนื่อง ทั้งนี้ เศรษฐกิจไทยมีแนวโน้มที่จะฟื้นตัวดีขึ้นหลังจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโคว... อ่านต่อ
มาตรการสินเชื่อพิเศษหรือสินเชื่อฟื้นฟูใหม่ และโครงการพักทรัพย์พักหนี้...ช่วยเพิ่มทางเลือกให้กับผู้ประกอบการที่ได้รับผลกระทบจากโควิด ขณะเดียวกันก็ช่วยบรรเทาภาระสถาบันการเงินจากการตั้งสำรองฯ เมื่อเทียบกับกรณีที่ไม่มีมาตรการซึ่งภาวะเศรษฐกิจที่ยังไม่แน่นอน อาจนำมาสู่ปัญหาหนี้เสียที่เพิ่มขึ้น... อ่านต่อ
17 มีนาคม 2564
อัตราผลตอบแทนพันธบัตรรัฐบาลไทย (บอนด์ยีลด์ไทย) ทยอยปรับตัวสูงขึ้นนับตั้งแต่ต้นปี 2564 ตามทิศทางบอนด์ยีลด์สหรัฐฯ โดยในส่วนของบอนด์ยีลด์ไทยอายุ 10 ปีปรับสูงขึ้นแตะจุดสูงสุดของปีนี้ที่ 2.05% ซึ่งเป็นระดับสูงที่สุดนับตั้งแต่เดือนกรกฎาคม 2562 (สูงสุดในรอบ 2 ปี 8 เดือน) ขณะที่ศูนย์วิจัยกสิกรไทยประเมินว่า ... อ่านต่อ
11 กุมภาพันธ์ 2564
มาตรการผ่อนคลายเชิงปริมาณ (QE) เป็นเครื่องมือนโยบายการเงินแบบพิเศษ ซึ่งธนาคารกลางหลายประเทศที่เป็นแกนหลักของโลกและบางประเทศในเอเชียนำมาใช้เพื่อช่วยรับมือกับปัญหาเศรษฐกิจ หลังจากที่มีการปรับลดอัตราดอกเบี้ยนโยบายลงมาอยู่ใกล้ระดับ 0% แล้ว โดยรูปแบบและขนาดของการเข้าซื้อสินทรัพย์ทางการเงินภายใต้มาตรการ Q... อ่านต่อ
29 มกราคม 2564
การประชุม กนง. รอบแรกของปีในวันที่ 3 กุมภาพันธ์ 2564 นี้ ศูนย์วิจัยกสิกรไทยประเมินว่า คณะกรรมการนโยบายการเงิน (กนง.) จะพิจารณาคงอัตราดอกเบี้ยนโยบายที่ 0.50% ตามเดิม เนื่องจาก ภาครัฐเพิ่งมีการออกมาตรการเพิ่มเติมทั้งในส่วนของนโยบายการเงินที่มุ่งเน้นช่วยเหลือลูกค้ารายย่อยทั้งขยายเวลาการพักชำระหนี้ออกไป... อ่านต่อ
27 มกราคม 2564
จากฐานข้อมูลรายงานงบการเงินประจำไตรมาส 4/2563 ศูนย์วิจัยกสิกรไทยประเมินว่า ยอดคงค้างสินเชื่อที่ไม่ก่อให้เกิดรายได้ (NPLs) ของระบบธนาคารพาณิชย์น่าจะปิดสิ้นปี 2563 ที่ยอดรวมประมาณ 5.23 แสนล้านบาท คิดเป็นสัดส่วนประมาณ 3.16% ของสินเชื่อรวม สำหรับในปี 2564 ศูนย์วิจัยกสิกรไทยมองว่า NPLs ยังมีโอกาสเพิ่มขึ... อ่านต่อ
22 มกราคม 2564
อัตราผลตอบแทนในตลาดตราสารหนี้ไทยมีแนวโน้มทยอยปรับตัวขึ้นในปีนี้ โดยมีแรงหนุนจากสองส่วนหลัก คือ 1) โอกาสการปรับขึ้นของอัตราผลตอบแทนพันธบัตรรัฐบาลสหรัฐฯ หากสหรัฐฯ สามารถควบคุมการระบาดของโควิด-19 และมาตรการกระตุ้นเศรษฐกิจชุดใหม่มีความคืบหน้าในระยะที่เหลือของปีนี้ และ 2) การคาดการณ์ว่า จะมีปริมาณพันธบัต... อ่านต่อ