27 เมษายน 2565
การค้า
มาตรการปรับราคาคาร์บอนก่อนเข้าพรมแดน (Carbon Border Adjustment Mechanism: CBAM) เป็นมาตรการที่จะเริ่มบังคับใช้ในปีหน้าสำหรับสินค้านำเข้าไปสหภาพยุโรปในอุตสาหกรรมเป้าหมายเบื้องต้น ได้แก่ ซีเมนต์ บริการไฟฟ้า ปุ๋ย เหล็กและเหล็กกล้า และอะลูมิเนียม และคาดว่าจะขยายขอบเขตไปอีกหลายอุตสาหกรรมในอนาคต ดังนั้น ... อ่านต่อ
FileSize KB
28 มีนาคม 2565
มาตรการคว่ำบาตรของสหรัฐฯ กับพันธมิตรและการตอบโต้ของรัสเซียล้วนซ้ำเติมราคาสินค้าโภคภัณฑ์ในตลาดโลก และอุปทานสินค้าในห่วงโซ่การผลิตที่เกี่ยวพันกับรัสเซีย รวมทั้งส่งผลให้บรรยากาศเศรษฐกิจทั่วโลกอ่อนแรง ศูนย์วิจัยกสิกรไทย ประเมินว่า ด้วยสถานการณ์สงครามที่ยังมีความไม่แน่นอนอยู่อาจส่งผลกระทบต่อการส่งออกของไ... อ่านต่อ
24 มีนาคม 2565
การส่งออกในปี 2565 คงจะชะลอตัวลงจากผลกระทบของสงครามรัสเซีย-ยูเครน แต่ผู้ประกอบการไทยก็ควรจะเร่งเตรียมการเพื่อรับมือกับการดำเนินมาตรการด้านสิ่งแวดล้อม เนื่องจากธุรกิจที่ปรับตัวโดยปล่อยก๊าซเรือนกระจกต่ำจะมีความได้เปรียบทางการแข่งขันและมีความพร้อมรองรับการดำเนินมาตรการด้านสิ่งแวดล้อมในอนาคตทั้งจากประเท... อ่านต่อ
26 ตุลาคม 2564
ในเดือนกันยายน 64 สถานการณ์การระบาดของโควิด-19 ในหลายประเทศเริ่มคลี่คลาย รวมถึงอัตราการฉีดวัคซีนที่ครอบคลุมมากขึ้นส่งผลให้กิจกรรมทางเศรษฐกิจเริ่มฟื้นตัว อีกทั้งเงินบาทที่มีทิศทางอ่อนค่าหนุนให้การส่งออกของไทยขยายตัวเพิ่มขึ้นที่ 17.1% จาก 8.9% ในเดือนสิงหาคม 64 โดยในช่วง 9 เดือนแรกของปี 2564 การส่งออก... อ่านต่อ
27 กันยายน 2564
ในเดือนส.ค.สถานการณ์การแพร่ระบาดของโควิด-19 สายพันธุ์เดลต้ามีความรุนแรงขึ้นในหลายประเทศในภูมิภาคเอเชียจนส่งผลกระทบต่อกิจกรรมทางเศรษฐกิจและภาคการผลิตกดดันให้ตัวเลขการส่งออกเติบโตชะลอตัวลงรวมถึงไทย ทำให้การส่งออกของไทยเดือนสิงหาคม 2564 ขยายตัวอยู่ที่ 8.93% ชะลอลงจาก 20.3% ในเดือนกรกฎาคม ... อ่านต่อ
23 สิงหาคม 2564
ในเดือนก.ค. ตัวเลขการส่งออกไทยยังคงขยายตัวแข็งแกร่งต่อเนื่องที่ 20.27%YoY ซึ่งเป็นระดับสูงสุดในรอบ 11 ปี และสูงกว่าตลาดคาดการณ์ที่ 19.7% โดยใน 7 เดือนแรกของปี 2564 ตัวเลขส่งออกไทยเติบโตที่ 16.2% ซึ่งเติบโตไปในทิศทางเดียวกับตลาดในภูมิภาคแต่ระดับของการเติบโตยังคงต่ำกว่าประเทศอื่น ๆ ที่สามารถขยายตัวได้... อ่านต่อ
23 กรกฎาคม 2564
ในเดือนมิ.ย. 64 การส่งออกของไทยขยายตัวแข็งแกร่งต่อเนื่องที่ 43.82% ซึ่งเป็นระดับสูงสุดในรอบ 11 ปี และสูงกว่าตลาดการณ์ที่ 38.1% ส่งผลให้การส่งออกไทยในครึ่งปีแรกเติบโตที่ 15.53% อย่างไรก็ตาม ระดับดังกล่าวไม่นับว่าสูงมากเมื่อเทียบการฟื้นตัวของการส่งออกของประเทศในภูมิภาคที่ขยายตัวได้ไม่ต่ำกว่า 20% ในช่ว... อ่านต่อ
24 มิถุนายน 2564
การส่งออกไทยในเดือนพ.ค. 64 ขยายตัวสูงสุดในรอบเกือบ 11 ปีที่ 41.59% YoY ขณะที่ เมื่อหักสินค้าเกี่ยวเนื่องกับน้ำมัน ทองคำ และอาวุธ ยุทธปัจจัย การส่งออกไทยเดือนพ.ค. ขยายตัวที่ 45.87% YoY ส่งผลให้การส่งออกไทยใน 5 เดือนแรกของปีนี้ขยายตัวที่ 10.78% YoY และเมื่อหักสินค้าเกี่ยวเนื่องกับน้ำมัน ทองคำ และอาวุธ... อ่านต่อ
25 พฤษภาคม 2564
... อ่านต่อ
23 เมษายน 2564
ตัวเลขการส่งออกในเดือนมี.ค.64 เมื่อหักสินค้าเกี่ยวเนื่องกับน้ำมัน ทองคำ และอาวุธ ยุทธปัจจัย ขยายตัวได้ถึงร้อยละ 8.47 YoY สอดคล้องกับตัวเลขการส่งออกในภูมิภาคที่เติบโตดี... อ่านต่อ
25 มีนาคม 2564
แนวโน้มเศรษฐกิจโลกในปี 2564 ที่ส่งสัญญาณการฟื้นตัวดีกว่าที่เคยประเมินจากปัจจัยความคืบหน้าของการกระจายวัคซีนและการขยายตัวของเศรษฐกิจสหรัฐฯ ที่ได้แรงหนุนจากมาตรการกระตุ้นเศรษฐกิจส่งผลให้เศรษฐกิจโลกจะฟื้นตัวเข้าสู่ระดับก่อนเกิดโควิด-19 ดังนั้นการส่งออกของไทยจึงได้รับอานิสงส์ไปด้วย โดยในเดือนก.พ. เศรษฐก... อ่านต่อ
19 มีนาคม 2564
การเริ่มฉีดวัคซีนโควิด-19 เอื้อให้กิจกรรมทางเศรษฐกิจทั่วโลกฟื้นตัว อานิสงส์ต่อภาพรวมการส่งออกของไทยปี 2564 กลับมาเติบโตสดใสร้อยละ 4.5 (กรอบประมาณการที่ร้อยละ 3.5-5.5) ซึ่งการส่งออกไปยังตลาดสหรัฐฯ และจีนกลับมาเติบโตดีกว่าตลาดอื่นๆ ขณะที่การส่งออกสินค้าในภาพรวมก็ดีด้วยเช่นกัน โดยเฉพาะสินค้าที่เป็นหัวใ... อ่านต่อ
23 กุมภาพันธ์ 2564
เศรษฐกิจโลกเริ่มฟื้นตัวในทิศทางที่ดีขึ้น ส่งผลให้ตัวเลขส่งออกในเดือนม.ค. 2564 ขยายตัวเป็นบวกได้ต่อเนื่องจากเดือนก่อน และเมื่อหักทองคำออกขยายตัวในระดับสูงที่ร้อยละ 6.3 ซึ่งเป็นการสะท้อนความต้องการสินค้าส่งออกไทยที่มากขึ้น ... อ่านต่อ
19 กุมภาพันธ์ 2564
แม้จะยังมีปัญหาโควิด-19 ค้างคาอยู่ แต่การค้าชายแดนปี 2564 มีสัญญาณปรับตัวดีขึ้นตามเศรษฐกิจคู่ค้าที่น่าจะเข้าสู่เส้นทางฟื้นตัวจากจุดต่ำสุด ศูนย์วิจัยกสิกรไทย มองว่า ในระยะต่อไปการส่งออกสินค้าผ่านแดนไปยังประเทศที่ 3 (จีน เวียดนามและสิงคโปร์) จะกลายมาเป็นแรงขับเคลื่อนใหม่ต่อจากนี้ โดยเฉพาะสินค้าดาวรุ่ง... อ่านต่อ