2 พฤศจิกายน 2565
อสังหาริมทรัพย์และก่อสร้าง
ทิศทางตลาดที่อยู่อาศัยในปี 2566 ปัจจัยหนุนเริ่มเบาบาง เมื่อธนาคารแห่งประเทศไทยไม่ต่ออายุมาตรการผ่อนคลาย LTV (สิ้นสุด 31 ธันวาคม 2565) โดยตลาดต้องติดตามว่าทางการจะต่ออายุมาตรการลดค่าธรรมเนียมในการซื้อที่อยู่อาศัยหรือไม่ ขณะที่การฟื้นตัวของเศรษฐกิจที่มีความไม่แน่นอนสูง กำลังซื้อยังเปราะบาง อัตราดอกเบี... อ่านต่อ
FileSize KB
30 ธันวาคม 2564
ตลาดที่อยู่อาศัยปี 2565 ยังเป็นปีแห่งการประคับประคองธุรกิจ แม้ตลาดที่อยู่อาศัยจะมีปัจจัยหนุนจากการต่ออายุมาตรการลดค่าธรรมเนียมการทำธุรกรรมการซื้อที่อยู่อาศัย ได้แก่ ค่าธรรมเนียมการโอนกรรมสิทธิ์ที่อยู่อาศัยและค่าธรรมเนียมการจดจำนองที่อยู่อาศัยในอัตราจัดเก็บที่ 0.01% สำหรับการซื้อที่อยู่อาศัยระดับราคา... อ่านต่อ
6 กันยายน 2564
นับจากต้นปี 2564 จนถึงปัจจุบัน ผู้ประกอบการพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ที่อยู่อาศัยส่วนใหญ่ชะลอการเปิดโครงการใหม่ เนื่องจากสภาวะตลาดที่ไม่เอื้อและจำนวนที่อยู่อาศัยรอขายสะสมยังทรงตัวระดับสูง ทำให้ผู้ประกอบการต้องปรับกลยุทธ์ทางธุรกิจให้สอดคล้องกับภาวะของตลาด ซึ่งจากข้อมูลของ เอเจนซี ฟอร์เรียลเอสเตท แอฟแฟร์ส พ... อ่านต่อ
5 กรกฎาคม 2564
ศูนย์วิจัยกสิกรไทยมองว่า มาตรการกึ่งล็อกดาวน์ที่ให้มีการหยุดการก่อสร้าง 1 เดือน (ตั้งแต่วันที่ 28 มิถุนายน จนถึง 28 กรกฎาคม 2564) น่าจะส่งผลกระทบต่ออุตสาหกรรมก่อสร้างโดยเฉพาะโครงการก่อสร้างในพื้นที่กรุงเทพฯ และปริมณฑลที่มีสัดส่วน 51% ของมูลค่าก่อสร้างทั้งประเทศ และเป็นโครงสร้างพื้นฐานขนาดใหญ่ของภาคร... อ่านต่อ
1 มิถุนายน 2564
ทิศทางตลาดที่อยู่อาศัยในเขตกรุงเทพและปริมณฑลในช่วงครึ่งหลังของปี 2564 ยังมีโจทย์ท้าทายสูง นอกจากกำลังซื้อที่อ่อนแรง ผู้ประกอบการยังต้องเผชิญกับปัจจัยท้าทายสำคัญทางธุรกิจ อาทิ ต้นทุนทางธุรกิจที่สูงขึ้นและการขาดแคลนแรงงานก่อสร้าง รวมถึงต้นทุนทางการเงินที่เพิ่มขึ้นขณะที่แหล่งเงินทุนมีจำกัด ... อ่านต่อ