6 ธันวาคม 2567
เศรษฐกิจไทย
... อ่านต่อ
FileSize KB
16 ตุลาคม 2567
2 เมษายน 2567
29 พฤศจิกายน 2566
4 กรกฎาคม 2566
1 ตุลาคม 2562
ยอดคงค้างหนี้ครัวเรือนในไตรมาสที่ 2/2562 เติบโตในอัตราที่ชะลอลงมาที่ 5.8% YoY หลังจากที่เร่งตัวขึ้นถึง 6.3% YoY ในไตรมาสที่ 1/2562 (สูงสุดในรอบ 4 ปี) ส่วนหนึ่งน่าจะเป็นผลมาจากการชะลอตัวลงของสินเชื่อเพื่อที่อยู่อาศัยหลังเกณฑ์การกำกับดูแลสินเชื่อเพื่อที่อยู่อาศัย หรือเกณฑ์ LTV เริ่มมีผลตั้งแต่เดือนเมษายน 2562 ที่ผ่านมา... อ่านต่อ
29 มีนาคม 2562
หนี้ครัวเรือนไทยในไตรมาส 4/2561 มียอดคงค้างที่ 12.827 ล้านล้านบาท เพิ่มขึ้นเมื่อเทียบกับไตรมาสก่อนหน้าถึง 2.2% QoQ สอดคล้องกับการเร่งตัวขึ้นของสินเชื่อรายย่อยหลายๆ ประเภท ทั้งสินเชื่อบ้าน สินเชื่อเช่าซื้อรถยนต์ รวมถึงสินเชื่อบัตรเครดิตและสินเชื่อส่วนบุคคล โดยแม้ครัวเรือนส่วนใหญ่จะเป็นหนี้ หรืออาจจะมีการใช้บริการสินเชื่อจากสถาบันการเงินเพื่อรองรับการจับจ่ายใช้สอยที่เพิ่มขึ้นในช่วงไตรมาสสุดท้ายของแต่ละปีตามผลของปัจจัยด้านฤดูกาล มากกว่าช่วงอื่นๆ แต่คงต้องยอมรับว่า ในไตรมาส 4/2561 ที่ผ่านมา มีปัจจัยเฉพาะ ซึ่งก็คือ การปรับเกณฑ์การกำหนดการวางเงินดาวน์สำหรับการซื้อบ้าน (มาตรการ LTV ใหม่) ที่มีผลทำให้ครัวเรือนบางกลุ่มเร่งตัดสินใจก่อหนี้เพื่อซื้อที่อยู่อาศัย ก่อนที่มาตรการ LTV ใหม่จะมีผลบังคับใช้ในเดือนเม.ย. 2562 ... อ่านต่อ
14 พฤศจิกายน 2561
ดัชนีภาวะเศรษฐกิจและการครองชีพของครัวเรือนไทยในอีก 3 เดือนข้างหน้า (3-month Expected KR-ECI) ปรับตัวดีขึ้นเล็กน้อยจากเดือนก่อน มาอยู่ที่ระดับ 46.9 ในการสำรวจช่วงเดือนต.ค. 2561 จากมุมมองของครัวเรือนที่เป็นบวกมากขึ้นต่อรายได้และการจ้างงานในช่วง 3 เดือนข้างหน้า ส่วนหนึ่งเป็นผลทางฤดูกาลที่เข้าสู่ช่วงการปรับขึ้นค่าจ้างประจำปีของครัวเรือนนอกภาคเกษตรและเข้าสู่ช่วงการเก็บเกี่ยวผลผลิตของครัวเรือนในภาคเกษตร ... อ่านต่อ
12 ตุลาคม 2561
ยอดคงค้างหนี้ครัวเรือนไทยในไตรมาส 2/2561 ขยับขึ้นมาที่ 12.34 ล้านล้านบาท (เติบโต 5.7% YoY) โดยหนี้ที่เพิ่มขึ้นส่วนใหญ่น่าจะเป็นผลมาจากการเร่งตัวขึ้นของยอดคงค้างสินเชื่อบ้าน และสินเชื่อเช่าซื้อรถยนต์ โดยหากนับเฉพาะการขยับขึ้นยอดคงค้างสินเชื่อบ้าน จะคิดเป็นสัดส่วนประมาณ 38% ของยอดคงค้างหนี้ครัวเรือนที่เพิ่มขึ้นในระหว่างไตรมาส 2 อย่างไรก็ดี สัดส่วนหนี้ครัวเรือนต่อจีดีพีในไตรมาส 2/2561 ยังคงชะลอลงต่อเนื่องมาอยู่ที่ 77.5% โดยเป็นผลมาจากเศรษฐกิจ (วัดจาก Nominal GDP) ที่ขยายตัวเร็วกว่ายอดคงค้างหนี้ครัวเรือน การขยับขึ้นของหนี้ครัวเรือนดังกล่าว สะท้อนสภาพการแข่งขันในตลาดสินเชื่อรายย่อย โดยเฉพาะสินเชื่อเพื่อที่อยู่อาศัย สินเชื่อเช่าซื้อรถยนต์ และสินเชื่ออุปโภคบริโภคอื่นๆ ของ 3 กลุ่มหลัก ได้แก่ ธนาคารพาณิชย์ สถาบันการเงินเฉพาะกิจ และสถาบันการเงินที่ไม่ใช่ธนาคารพาณิชย์ (นอนแบงก์) สวนทางกับสถาบันการเงินประเภทอื่นๆ ที่มีบทบาทลดลง โดยเฉพาะในช่วงครึ่งแรกของปี 2561 สำหรับแนวโน้มของหนี้ครัวเรือน ศูนย์วิจัยกสิกรไทย คาดว่า อานิสงส์จากเศรษฐกิจไทยที่เติบโตดีขึ้น อาจส่งผลทำให้ยังคงเห็นสัดส่วนหนี้ครัวเรือนต่อจีดีพีในปี 2561 นี้ ขยับลงต่อเนื่องมาอยู่ในกรอบ 77.0-78.0% อย่างไรก็ดี การเพิ่มขึ้นของหนี้ครัวเรือนในปีนี้ ซึ่งส่วนใหญ่เป็นหนี้ก้อนใหญ่ รวมถึงทิศทางดอกเบี้ยที่มีโอกาสขยับขึ้นในระยะข้างหน้า อาจมีผลกระทบต่อความสามารถในการชำระหนี้ของครัวเรือนบางกลุ่ม แม้ปัจจัยดังกล่าวอาจจะไม่กระทบต่อทิศทางของหนี้ครัวเรือนในภาพรวมมากนัก หากเศรษฐกิจไทยยังคงประคองการฟื้นตัวได้อย่างต่อเนื่องในปีหน้า ... อ่านต่อ
12 มกราคม 2561
ครัวเรือนไทยมีมุมมองต่อภาวะเศรษฐกิจและการครองชีพในอีก 3 เดือนข้างหน้าดีขึ้นติดต่อกันเป็นเดือนที่ 3 นับเป็นแนวโน้มที่ดีต่อการบริโภคของภาคเอกชนในช่วงไตรมาสที่ 1/2561 ส่วนหนึ่งเป็นผลมาจากแรงกดดันทางด้านค่าใช้จ่ายและภาระหนี้ที่ลดลง ประกอบกับครัวเรือนมีความคาดหวังถึงรายได้ที่ดีขึ้นในปี 2561 ... อ่านต่อ
29 กันยายน 2560
จากรายงานตัวเลขเงินให้กู้ยืมแก่ภาคครัวเรือนล่าสุดของธปท. สะท้อนว่า สัดส่วนหนี้ครัวเรือนต่อจีดีพียังคงมีทิศทางชะลอตัวต่อเนื่องตลอดช่วง 6 ไตรมาสที่ผ่านมา มาอยู่ที่ 78.4% ในไตรมาส 2/2560 จากระดับ 78.7% ในไตรมาส 1/2560 ... อ่านต่อ
30 มิถุนายน 2560
ยอดคงค้างหนี้ครัวเรือนไทยล่าสุด ณ สิ้นไตรมาส 1/2560 ที่รายงานโดยธนาคารแห่งประเทศไทย (ธปท.) ปรับเพิ่มขึ้นมาที่ระดับ 11.48 ล้านล้านบาท หรือเติบโต 3.1... อ่านต่อ
31 มีนาคม 2560
สถานการณ์หนี้ครัวเรือนไทยปี 2559 สะท้อนภาพการชะลอความร้อนแรงลงจากปีก่อน เนื่องจากสัดส่วนหนี้ครัวเรือนต่อจีดีพีปรับตัวลงราว 1.3% จากปี 2558 มาที่ระดั... อ่านต่อ
30 ธันวาคม 2559
3 ตุลาคม 2559
30 มิถุนายน 2559
31 มีนาคม 2559
30 ธันวาคม 2558
30 กันยายน 2558
30 มิถุนายน 2558