1 กรกฎาคม 2565
ท่องเที่ยว
1 ก.ค. 65 ปลดล็อกเงื่อนไขต่างๆ ให้ชาวต่างชาติทุกกลุ่มสามารถเดินทางเข้ามาท่องเที่ยวในประเทศได้ตามปกติ ซึ่งเป็นปัจจัยบวกสำคัญต่อการท่องเที่ยวของไทย หลังจากที่ได้รับผลกระทบจากโควิดที่ยาวนาน ช่วยหนุนตลาดต่างชาติเที่ยวไทยในช่วงที่เหลือของปี 2565 นี้ คาดว่าจะมีนักท่องเที่ยวต่างชาติเดินทางเข้ามาท่องเที่ยวป... อ่านต่อ
FileSize KB
29 มิถุนายน 2565
เกษตรกรรม
ปี 2565 ไทยอาจมีความเสี่ยงต้องเผชิญอุปทานข้าวในประเทศที่ตึงตัวมากขึ้น จากจุดเปลี่ยนสำคัญคือ ราคาปุ๋ยที่พุ่งสูงเป็นประวัติการณ์จากความขัดแย้งระหว่างรัสเซียและยูเครน ทำให้ผลผลิตข้าวลดลง ขณะที่ในฝั่งของอุปสงค์คาดว่าจะกระเตื้องขึ้นตามการส่งออกข้าวที่ดีขึ้น จะยิ่งกดดันอุปทานข้าวที่เหลือในประเทศให้ลดลง ซ... อ่านต่อ
22 มิถุนายน 2565
บริการ
ธุรกิจ Food Delivery เผชิญโจทย์ยากขึ้นหลังจากโควิดคลี่คลาย ความจำเป็นในการสั่งอาหารมาส่งที่พักลดลง ราคาพลังงานที่ปรับสูงขึ้น … ส่งผลกระทบต่อผู้ให้บริการจัดส่งอาหารไปยังที่พัก หรือไรเดอร์ทำให้จำเป็นต้องหาวิธีการรับมือกับรายได้สุทธิที่ลดลง โดยกลุ่มตัวอย่างกว่า 70% ใช้เวลาทำงานรับออเดอร์ให้มากขึ้น เพื... อ่านต่อ
19 พฤษภาคม 2565
ราคาปุ๋ยเคมีปรับพุ่งสูงขึ้นต่อเนื่องเป็นประวัติการณ์ ตามราคาวัตถุดิบและอุปทานปุ๋ยในตลาดโลกที่ตึงตัวจากผลกระทบของความขัดแย้งระหว่างรัสเซียและยูเครน ผนวกกับภาครัฐได้อนุญาตให้ปรับเพิ่มราคาขายปุ๋ยเคมีในประเทศให้สะท้อนต้นทุนที่แท้จริงมากขึ้น ทำให้ศูนย์วิจัยกสิกรไทย คาดว่า ราคาปุ๋ยยูเรียนำเข้าของไทยในปี ... อ่านต่อ
29 เมษายน 2565
ศบค. ผ่อนคลายเงื่อนไขการเดินทางเข้าประเทศของชาวต่างชาติ โดยได้ยกเลิก Test and Go สำหรับชาวต่างชาติที่ได้รับการฉีดวัคซีนครบ และลดวงเงินประกัน รวมถึงการเปิดจุดผ่านแดน ตั้งแต่วันที่ 1 พ.ค. 65 นับเป็นการเปิดประเทศเต็มรูปแบบ ซึ่งน่าจะส่งผลดีต่อทิศทางตลาดต่างชาติเที่ยวไทยในช่วงที่เหลือของปี 2565 นี้ อย่าง... อ่านต่อ
27 เมษายน 2565
การค้า
มาตรการปรับราคาคาร์บอนก่อนเข้าพรมแดน (Carbon Border Adjustment Mechanism: CBAM) เป็นมาตรการที่จะเริ่มบังคับใช้ในปีหน้าสำหรับสินค้านำเข้าไปสหภาพยุโรปในอุตสาหกรรมเป้าหมายเบื้องต้น ได้แก่ ซีเมนต์ บริการไฟฟ้า ปุ๋ย เหล็กและเหล็กกล้า และอะลูมิเนียม และคาดว่าจะขยายขอบเขตไปอีกหลายอุตสาหกรรมในอนาคต ดังนั้น ... อ่านต่อ
7 เมษายน 2565
อุตสาหกรรม
ท่ามกลางทิศทางขาขึ้นของอัตราค่าไฟฟ้าที่ได้รับแรงกดดันจากราคาเชื้อเพลิงฟอสซิลในตลาดโลกที่มีแนวโน้มยืนตัวในระดับสูงโดยเฉพาะจากวิกฤตรัสเซีย-ยูเครน ส่งผลช่วยยกระดับความน่าสนใจในการลงทุนโซลาร์รูฟท็อปในภาคธุรกิจเพื่อประหยัดค่าใช้จ่ายด้านไฟฟ้าพร้อมทั้งตอบสนองกระแสพลังงานสะอาด แม้ว่าในปัจจุบันราคาแผงโซลาร์ก... อ่านต่อ
1 เมษายน 2565
มาตรการสนับสนุนของภาครัฐที่เพิ่งออกมา นับว่าส่งผลกระตุ้นตลาดรถยนต์ BEV ได้อย่างมาก ทำให้การแข่งขันเริ่มคึกคักขึ้นทันทีนำโดยค่ายรถจีนที่อาศัยจังหวะค่ายรถกระแสหลักยังไม่พร้อมทำตลาดเร่งนำหน้าดึงส่วนแบ่งลูกค้ามาก่อน โดยศูนย์วิจัยกสิกรไทยมองว่ามีโอกาสที่อาจจะชิงส่วนแบ่งตลาดรวมได้ถึง 80% จากยอดขายรถยนต์ B... อ่านต่อ
28 มีนาคม 2565
การผลิตภาคอุตสาหกรรมไทย ที่ส่วนใหญ่พึ่งพาการนำเข้าวัตถุดิบต้นน้ำหรือราคามักจะเคลื่อนไหวตามทิศทางราคาตลาดโลก เมื่อสงครามรัสเซีย-ยูเครนยืดเยื้อและมาตรการคว่ำบาตรรัสเซียที่คงจะอยู่ตลอดปี ผลักดันให้ราคาวัตถุดิบตลาดโลกมีแนวโน้มยืนระดับสูงในช่วงเวลาส่วนใหญ่ของปี 2565 จึงกระทบต้นทุนการผลิต โดยเบื้องต้น ศูน... อ่านต่อ
มาตรการคว่ำบาตรของสหรัฐฯ กับพันธมิตรและการตอบโต้ของรัสเซียล้วนซ้ำเติมราคาสินค้าโภคภัณฑ์ในตลาดโลก และอุปทานสินค้าในห่วงโซ่การผลิตที่เกี่ยวพันกับรัสเซีย รวมทั้งส่งผลให้บรรยากาศเศรษฐกิจทั่วโลกอ่อนแรง ศูนย์วิจัยกสิกรไทย ประเมินว่า ด้วยสถานการณ์สงครามที่ยังมีความไม่แน่นอนอยู่อาจส่งผลกระทบต่อการส่งออกของไ... อ่านต่อ
24 มีนาคม 2565
การส่งออกในปี 2565 คงจะชะลอตัวลงจากผลกระทบของสงครามรัสเซีย-ยูเครน แต่ผู้ประกอบการไทยก็ควรจะเร่งเตรียมการเพื่อรับมือกับการดำเนินมาตรการด้านสิ่งแวดล้อม เนื่องจากธุรกิจที่ปรับตัวโดยปล่อยก๊าซเรือนกระจกต่ำจะมีความได้เปรียบทางการแข่งขันและมีความพร้อมรองรับการดำเนินมาตรการด้านสิ่งแวดล้อมในอนาคตทั้งจากประเท... อ่านต่อ
21 มีนาคม 2565
แม้ธุรกิจจัดส่งอาหารไปยังที่พัก (Food Delivery) น่าจะยังได้รับแรงหนุนจากพฤติกรรมของผู้บริโภคในช่วงที่จำนวนผู้ติดเชื้อโควิดยังสูงและสถานประกอบการยังใช้ระบบการทำงานแบบ Hybrid Work ประกอบกับผู้ให้บริการแพลตฟอร์มและร้านอาหารยังคงทำการตลาดและอัดโปรโมชั่นเพื่อกระตุ้นการสั่งอาหารควบคู่ไปกับการขยายการใช้งาน... อ่านต่อ
17 มีนาคม 2565
ศูนย์วิจัยกสิกรไทย คาดว่า มูลค่าการใช้จ่ายอาหารและเครื่องดื่มในประเทศปี 2565 อาจอยู่ที่ระดับ 2.57-2.59 ล้านล้านบาท หรือขยายตัว 1.9%-2.7% เทียบกับปี 2564 ที่ขยายตัว 2.5% โดยปัจจัยหนุนยังคงมาจากระดับราคาสินค้าที่ปรับสูงขึ้นราว 3.1%YoY ตามต้นทุนการผลิตที่คาดว่าจะอยู่ในระดับสูงในช่วงเวลาส่วนใหญ่ของปี จ... อ่านต่อ
16 มีนาคม 2565
สงครามรัสเซีย-ยูเครนได้กลายมาเป็นปัจจัยที่สร้างผลกระทบต่ออุตสาหกรรมรถยนต์โลกเป็นวงกว้างทั้งจากการเพิ่มปัญหาการขาดแคลนชิ้นส่วนรถยนต์ และเร่งภาวะเงินเฟ้อโลกให้พุ่งขึ้นทำให้กำลังซื้อผู้บริโภคลดลง ซึ่งส่งผลให้การส่งออกรถยนต์จากไทยโดยรวมได้รับผลกระทบไปด้วย แม้สถานการณ์จะต่างออกไปบ้าง เนื่องจากประเทศผู้นำ... อ่านต่อ
14 มีนาคม 2565
ความขัดแย้งระหว่างรัสเซีย-ยูเครน ผู้ส่งออกข้าวสาลีรายใหญ่ของโลก ดันราคาข้าวสาลีพุ่งสูงสุดในรอบหลายปี กระทบไทยในแง่ต้นทุนวัตถุดิบของอุตสาหกรรมปลายน้ำที่ใช้ข้าวสาลีเป็นส่วนประกอบให้สูงขึ้น โดยคาดว่า ในช่วงระยะเวลาราว 6 เดือนจากนี้ (มี.ค.-ก.ย.) ... อ่านต่อ
1 มีนาคม 2565
ศูนย์วิจัยกสิกรไทยมองว่า จากภาวะเงินเฟ้อและค่าครองชีพที่สูงขึ้น ความไม่แน่นอนของโควิด-19 รวมถึงผลกระทบจากความไม่สงบในยูเครนที่อาจยืดเยื้อ จะส่งผลต่อเศรษฐกิจและกำลังซื้อของผู้บริโภค ทำให้คาดว่า ปี 2565 ธุรกิจ B2C E-commerce กลุ่มสินค้า แม้อาจขยายตัวราว 13.5% หรือคิดเป็นมูลค่าตลาดประมาณ 5.65 แสนล้านบา... อ่านต่อ
28 กุมภาพันธ์ 2565
ศูนย์วิจัยกสิกรไทยคาดว่า ในปี 2565 ธุรกิจขนส่งสินค้าแบบควบคุมอุณหภูมิ (Cold-chain Logistics) ที่เน้นเจาะกลุ่ม B2C จะมีมูลค่าราว 2.9-3.0 พันล้านบาท ซึ่งจะเติบโตในกรอบ 15-20% (YoY) ชะลอจากปีก่อนหน้าที่คาดว่าจะขยายตัวราว 40-45% (YoY) ส่วนหนึ่งเป็นผลมาจากฐานสูงและปัจจัยเร่งชั่วคราวจากการล็อกดาวน์หมดลง ... อ่านต่อ
23 กุมภาพันธ์ 2565
ศูนย์วิจัยกสิกรไทย มองว่า ราคาปาล์มน้ำมันของไทยในไตรมาสที่ 1 ปี 2565 น่าจะสามารถประคองตัวในระดับสูงในกรอบ 7.5-9.5 บาทต่อกก. สอดคล้องไปกับราคาน้ำมันปาล์มดิบและราคาพลังงานโลกที่อยู่ในระดับสูง ขณะที่การปรับลดสัดส่วนการผสมไบโอดีเซลเหลือ B5 เพื่อดูแลราคาน้ำมันในประเทศช่วง ก.พ.-มี.ค. กระทบความต้องการใช้ปา... อ่านต่อ
31 มกราคม 2565
ศูนย์วิจัยกสิกรไทยมองว่า แม้ว่าสถานการณ์การระบาดของโควิด-19 จะมีสัญญาณที่ดีขึ้นจนทำให้ความต้องการยาเพื่อรักษาโควิด-19 อาจปรับตัวลดลงเมื่อเทียบกับปีก่อนที่มีการระบาดรุนแรง แต่ในทางกลับกัน อาจทำให้คนไข้ไทยกลุ่มเดิมที่รักษาโรคทั่วไป และคนไข้ต่างชาติบางกลุ่มทยอยกลับมาใช้บริการรักษาพยาบาลในไทยเพิ่มขึ้น ป... อ่านต่อ
13 มกราคม 2565
ศูนย์วิจัยกสิกรไทย มองว่า ตลาดเครื่องจักรกลการเกษตรของไทยในปี 2565 น่าจะให้ภาพการขยายตัวต่อไปได้อยู่ที่มูลค่าราว 84,600-87,900 ล้านบาท หรือขยายตัวร้อยละ 1.6-5.6 (YoY) จากปัจจัยหนุนด้านอุปสงค์เป็นสำคัญ แต่คงเป็นการขยายตัวแบบชะลอลง เนื่องจาก Pent Up Demand ที่คลี่คลายมากขึ้น และอุปสงค์ของแรงงานกลับถิ่... อ่านต่อ
7 มกราคม 2565
ศูนย์วิจัยกสิกรไทยมองว่า ปัญหาโรคระบาดในสุกร ต้นทุนการผลิตที่เพิ่มขึ้น ทั้งต้นทุนค่าขนส่งที่เพิ่มขึ้นตามราคาน้ำมัน ต้นทุนค่าอาหารสัตว์ที่ปรับสูงขึ้น รวมทั้งยังมีต้นทุนในการควบคุมและป้องกันโรคระบาดในฟาร์ม และการลดลงของเกษตรกรเลี้ยงสุกรรายย่อยส่งผลให้เกิดการขาดแคลนปริมาณเนื้อสุกรในตลาด ประกอบกับ Pent-... อ่านต่อ
5 มกราคม 2565
แนวโน้มธุรกิจร้านอาหารปี 2565 ยังเป็นปีที่ต้องระมัดระวัง เนื่องจากตลาดยังมีปัจจัยเสี่ยงการระบาดของโควิด-19 สายพันธุ์ Omicron และสายพันธุ์อื่นที่อาจเกิดขึ้นได้ รวมถึงกำลังซื้อของผู้บริโภคที่ยังไม่กลับมาฟื้นตัวดี อย่างไรก็ดีธุรกิจร้านอาหารก็ยังคงมีปัจจัยบวกสำคัญจากนโยบายกระตุ้นเศรษฐกิจของภาครัฐที่จะเข... อ่านต่อ
30 ธันวาคม 2564
อสังหาริมทรัพย์และก่อสร้าง
ตลาดที่อยู่อาศัยปี 2565 ยังเป็นปีแห่งการประคับประคองธุรกิจ แม้ตลาดที่อยู่อาศัยจะมีปัจจัยหนุนจากการต่ออายุมาตรการลดค่าธรรมเนียมการทำธุรกรรมการซื้อที่อยู่อาศัย ได้แก่ ค่าธรรมเนียมการโอนกรรมสิทธิ์ที่อยู่อาศัยและค่าธรรมเนียมการจดจำนองที่อยู่อาศัยในอัตราจัดเก็บที่ 0.01% สำหรับการซื้อที่อยู่อาศัยระดับราคา... อ่านต่อ
ล่าสุดรัฐบาลเตรียมประกาศใช้มาตรการมาตรการกระตุ้นดีมานด์รถยนต์ BEV ในประเทศ ด้วยการเข้ามาช่วยเหลือเรื่องของระดับราคาให้ใกล้เคียงกับรถยนต์ใช้น้ำมันมากขึ้นนั้น ศูนย์วิจัยกสิกรไทยมองว่า ค่ายรถที่จะได้รับประโยชน์นั้นอาจจะเป็นเพียงกลุ่มค่ายรถที่มีเทคโนโลยีพร้อมแล้ว และมีฐานการผลิตอยู่ในไทย หรือที่กำลังมีแ... อ่านต่อ
29 ธันวาคม 2564
จากการที่ภาครัฐอยู่ระหว่างพิจารณากำหนดแนวทางการจัดเก็บภาษีความเค็ม และคาดว่าน่าจะประกาศแนวทางปฏิบัติในปี 2565 เพื่อให้ผู้ประกอบการปรับปรุงการผลิต ก่อนจะกำหนดวันเริ่มบังคับใช้ในระยะต่อไป โดยพิจารณาความพร้อมของผู้ประกอบการและผู้บริโภค รวมถึงภาวะเศรษฐกิจประกอบด้วย โดยมีเป้าหมายเพื่อลดการบริโภคโซเดียมขอ... อ่านต่อ
23 ธันวาคม 2564
ในช่วงที่ผ่านมา Metaverse ได้รับความสนใจและกลายเป็นกระแสมากขึ้นเรื่อยๆ ในระดับโลก โดยปัจจุบัน เป้าหมายหลักของผู้ประกอบการที่วางแผนจะนำ Metaverse มาใช้ ส่วนใหญ่มักจะมุ่งเน้นไปที่การหาโอกาสทางธุรกิจรูปแบบใหม่ในตลาดผู้บริโภค ไม่ว่าจะเป็นช่องทางค้าปลีกใหม่ที่สร้างประสบการณ์เสมือนจริงในการเลือกซื้อสินค้า... อ่านต่อ
13 ธันวาคม 2564
ศูนย์วิจัยกสิกรไทย มองว่า ราคาข้าวไทยในปี 2565 น่าจะให้ภาพการเติบโตที่กระเตื้องขึ้นเล็กน้อยหลังจากผ่านจุดต่ำสุดมาแล้วในปี 2564 แต่คงเป็นการเติบโตบนฐานที่ต่ำ คาดว่าอาจอยู่ที่ราว 8,900-9,400 บาทต่อตัน หรือหดตัวร้อยละ 1.6 ถึงขยายตัวร้อยละ 4.0 จากปัจจัยหนุนด้านอุปทานที่คาดว่าปัญหา Supply Disruption จากก... อ่านต่อ
8 ธันวาคม 2564
การระบาดของโควิด-19 มาตรการจำกัดการให้บริการร้านอาหาร และนโยบายการให้พนักงานทำงานที่พัก (Work from Home) พฤติกรรมของผู้บริโภคที่มีความคุ้นชินกับการใช้แอพพลิเคชั่นจัดส่งอาหารไปยังที่พัก และมาตรการคนละครึ่งของภาครัฐ ทำให้ทั้งปี 2564 มูลค่าตลาดของการสั่งอาหารไปส่งยังที่พัก Food Delivery (ฐานคำนวณใหม่ ไ... อ่านต่อ
30 พฤศจิกายน 2564
ศูนย์วิจัยกสิกรไทยคาดว่าการส่งออกอาหารสัตว์เลี้ยงของไทยยังเห็นโอกาสเติบโตอย่างต่อเนื่อง และคาดการณ์ว่ามูลค่าการส่งออกในปี 2565 สามารถแตะระดับที่ 2.4 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ เติบโตราว 20% ชะลอตัวเล็กน้อยจากปี 2564 ที่คาดว่าจะโต 23% ขึ้นมาเป็นผู้ส่งออกอาหารสัตว์เลี้ยงอันดับที่ 3 ของโลก จากอุปสง... อ่านต่อ
18 พฤศจิกายน 2564
ตลาดจักรยานยนต์ไทยในปีนี้ได้รับผลกระทบจากโควิด-19 ที่กดดันกำลังซื้อของผู้บริโภคโดยเฉพาะในกลุ่มฐานรากซึ่งเป็นกลุ่มผู้ซื้อหลัก ยังผลให้ตลอดทั้งปีนี้ศูนย์วิจัยกสิกรไทยคาดว่ามีโอกาสที่ยอดขายรถจักรยานยนต์ปี 2564 อาจปิดที่ราว 1.53 ล้านคัน หรือขยายตัวเพียง 1% จากปีที่แล้วเท่านั้น อย่างไรก็ตาม รถจักรยานยนต์... อ่านต่อ
8 พฤศจิกายน 2564
หลังจากที่ทางการผ่อนคลายมาตรการควบคุมการระบาดของโควิดและการเดินทางข้ามจังหวัด การฉีดวัคซีนที่ครอบคลุมประชากรมากขึ้น รวมถึงมาตรการกระตุ้นการท่องเที่ยวในประเทศ ทำให้คนไทยเริ่มออกเดินทางท่องเที่ยวในประเทศเพิ่มขึ้น จากผลสำรวจความต้องการท่องเที่ยวในประเทศ สะท้อนว่า กว่า 73.7% ของกลุ่มตัวอย่างคนกรุงเทพฯ ต... อ่านต่อ
3 พฤศจิกายน 2564
การผ่อนคลายมาตรการให้บริการในร้านอาหาร ช่วยหนุนธุรกิจร้านอาหารที่ให้บริการแบบเต็มรูปแบบ (Full-Service Restaurants) โดย ศูนย์วิจัยกสิกรไทย มองว่า ผลจากมาตรการดังกล่าวน่าจะช่วยให้ธุรกิจร้านอาหารที่ให้บริการเต็มรูปแบบมีรายได้เพิ่มขึ้นประมาณ 2,000 ล้านบาท ส่งผลทำให้ทั้งปี 2564 มูลค่าธุรกิจร้านอาหารให้บร... อ่านต่อ
29 ตุลาคม 2564
ศูนย์วิจัยกสิกรไทย ประเมินว่า ผลกระทบในเบื้องต้นต่อมูลค่าความเสียหายของข้าวจากผลของน้ำท่วมในช่วงเดือนกันยายน-ตุลาคมปี 2564 อาจอยู่ที่ราว 6,300-8,400 ล้านบาท จากอิทธิพลของพายุที่ทำให้เกิดภาวะน้ำท่วมในหลายจังหวัดแถบภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคเหนือ และภาคกลางของไทยที่กำลังเกิดขึ้นในขณะนี้ จะส่งผลกระทบต่อ... อ่านต่อ
26 ตุลาคม 2564
ในเดือนกันยายน 64 สถานการณ์การระบาดของโควิด-19 ในหลายประเทศเริ่มคลี่คลาย รวมถึงอัตราการฉีดวัคซีนที่ครอบคลุมมากขึ้นส่งผลให้กิจกรรมทางเศรษฐกิจเริ่มฟื้นตัว อีกทั้งเงินบาทที่มีทิศทางอ่อนค่าหนุนให้การส่งออกของไทยขยายตัวเพิ่มขึ้นที่ 17.1% จาก 8.9% ในเดือนสิงหาคม 64 โดยในช่วง 9 เดือนแรกของปี 2564 การส่งออก... อ่านต่อ
15 ตุลาคม 2564
ศูนย์วิจัยกสิกรไทยมองว่า จากสถานการณ์โควิดและการเข้าถึงวัคซีนที่เริ่มมีสัญญาณบวก จนทำให้ภาครัฐมีการคลายมาตรการล็อกดาวน์กิจกรรมต่างๆ ทางเศรษฐกิจเพิ่มเติมในช่วงไตรมาสสุดท้ายของปีนี้ ซึ่งเป็นจังหวะที่ธุรกิจต่างๆ ก็คงจะมีการออกแคมเปญทำตลาดเพื่อกระตุ้นการใช้จ่ายมากขึ้นด้วย ส่งผลให้คาดว่า ยอดขายของธุรกิจค... อ่านต่อ
เป็นที่แน่นอนแล้วว่า ในวันที่ 1 พ.ย. 2564 นี้ ทางการไทยจะเปิดรับนักท่องเที่ยวต่างชาติเดินทางเข้ามาท่องเที่ยวในประเทศโดยไม่ต้องกักตัว ซึ่งชาวต่างชาติที่จะเดินทางเข้ามาต้องได้รับการฉีดวัคซีนโควิดครบโดสและเงื่อนไขการตรวจหาเชื้อโควิดทั้งก่อนและเดินทางมาถึงไทย โดยการกำหนดกลุ่มประเทศตามระดับความเสี่ยงและเ... อ่านต่อ
8 ตุลาคม 2564
ศูนย์วิจัยกสิกรไทยคาดว่า รายได้ของธุรกิจโรงพยาบาลเอกชนจะขยายตัว 11.8% เทียบกับปี 2563 ที่หดตัว 12.5% ซึ่งการฟื้นตัวดังกล่าวส่วนหนึ่งน่าจะมาจากฐานที่ต่ำในปีก่อนหน้า และยังไม่กลับเข้าสู่ภาวะปกติก่อนช่วงโควิด โดยส่วนใหญ่เป็นการขยายตัวของรายได้ที่มาจากคนไข้ในประเทศที่ทำการตรวจและรักษาโควิด รวมถึงกลุ่ม E... อ่านต่อ
7 ตุลาคม 2564
การแพร่ระบาดของโควิดไปทั่วโลก แม้ด้านหนึ่งจะส่งผลกระทบต่อยอดการผลิตและยอดขายรถยนต์ใหม่ ทว่าในอีกด้านหนึ่ง โควิดกลับสร้างมิติใหม่ให้กับตลาดรถมือสองทั้งในไทยและต่างประเทศใน 2 ด้านหลัก คือ การปรับเพิ่มขึ้นของราคารถมือสอง และการพัฒนาใช้ช่องทางออนไลน์ในการซื้อขายรถมือสองมากขึ้น อย่างไรก็ตาม หากเทียบกับอี... อ่านต่อ
6 ตุลาคม 2564
ท่ามกลางสถานการณ์การแพร่ระบาดของโควิด-19 ธุรกิจบริการโซลูชั่นโรงงานอัจฉริยะไทย (Smart Factory Solutions: SFS) มีแนวโน้มขยายตัวเร่งขึ้นจากเดิมก่อนช่วงโควิดที่มีแนวโน้มเติบโตแบบค่อยเป็นค่อยไป โดยได้รับแรงหนุนหลักจากกระแสอุปสงค์ของผู้ประกอบการรายใหญ่ที่ต้องการปรับตัวเพื่อลดการพึ่งพาแรงงาน และกระแสการรุ... อ่านต่อ
28 กันยายน 2564
ศูนย์วิจัยกสิกรไทย มองว่า จากการปลดล็อกพืชกระท่อมออกจากบัญชียาเสพติด ในระยะแรกนับว่าความสำเร็จของภาพรวมธุรกิจกระท่อมคงไม่ใช่เรื่องง่ายนัก และคงต้องขึ้นอยู่กับอุปสงค์เป็นสำคัญภายใต้อุปทานที่มีจำกัด จึงถือว่าเป็นช่วงทดสอบตลาดผู้บริโภคว่าจะให้การตอบรับกับสินค้ากระท่อมได้ในระดับใด ซึ่งคงต้องรอดูผลตอบรับ... อ่านต่อ
27 กันยายน 2564
ในเดือนส.ค.สถานการณ์การแพร่ระบาดของโควิด-19 สายพันธุ์เดลต้ามีความรุนแรงขึ้นในหลายประเทศในภูมิภาคเอเชียจนส่งผลกระทบต่อกิจกรรมทางเศรษฐกิจและภาคการผลิตกดดันให้ตัวเลขการส่งออกเติบโตชะลอตัวลงรวมถึงไทย ทำให้การส่งออกของไทยเดือนสิงหาคม 2564 ขยายตัวอยู่ที่ 8.93% ชะลอลงจาก 20.3% ในเดือนกรกฎาคม ... อ่านต่อ
14 กันยายน 2564
ศูนย์วิจัยกสิกรไทยมองว่า แม้ว่าโควิด-19 จะเป็นตัวเร่งให้มูลค่าตลาด B2C E-commerce มีแนวโน้มขยายตัวสูงกว่าธุรกิจค้าปลีกในภาพรวม แต่สัญญาณดังกล่าวส่งผลต่อภาพการแข่งขันที่ยากและรุนแรงขึ้นจากการเพิ่มขึ้นของจำนวนผู้เล่น ท่ามกลางกำลังซื้อของผู้บริโภคส่วนใหญ่ที่ยังคงใช้จ่ายอย่างระมัดระวัง และการเติบโตของ E... อ่านต่อ
13 กันยายน 2564
เทศกาลไหว้พระจันทร์ในปีนี้ ซึ่งตรงกับวันที่ 21 กันยายน 2564 ถือเป็นอีกปีที่ท้าทายสำหรับธุรกิจขนมไหว้พระจันทร์ จากการระบาดของโควิด-19 ที่ยังไม่คลี่คลายและมีระดับความรุนแรงมากกว่าปีก่อน ทำให้กำลังซื้อผู้บริโภคในประเทศยังคงเปราะบาง และส่งผลต่อการตัดสินใจซื้อขนมไหว้พระจันทร์ในปีนี้ นอกจากนี้ ด้วยข้อจำกั... อ่านต่อ
8 กันยายน 2564
การจัดเก็บภาษีมูลค่าเพิ่มจากผู้ให้บริการดิจิทัลแพลตฟอร์มต่างประเทศ (VAT for Electronic Service: VES) เป็นหนึ่งในรูปแบบการจัดเก็บภาษีในโลกของเศรษฐกิจดิจิทัล (Taxation of the Digital Economy) โดยที่ผ่านมา หลายประเทศได้มีการออกกฎหมายการจัดเก็บภาษีจากผู้ให้บริการดิจิทัลแพลตฟอร์มจากต่างประเทศในหลากหลายรู... อ่านต่อ
6 กันยายน 2564
นับจากต้นปี 2564 จนถึงปัจจุบัน ผู้ประกอบการพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ที่อยู่อาศัยส่วนใหญ่ชะลอการเปิดโครงการใหม่ เนื่องจากสภาวะตลาดที่ไม่เอื้อและจำนวนที่อยู่อาศัยรอขายสะสมยังทรงตัวระดับสูง ทำให้ผู้ประกอบการต้องปรับกลยุทธ์ทางธุรกิจให้สอดคล้องกับภาวะของตลาด ซึ่งจากข้อมูลของ เอเจนซี ฟอร์เรียลเอสเตท แอฟแฟร์ส พ... อ่านต่อ
3 กันยายน 2564
ศูนย์วิจัยกสิกรไทย ประเมินว่า ในช่วงที่เหลือของปี 2564 ทิศทางราคาเนื้อสัตว์ยังยืนตัวอยู่ในระดับสูง จากต้นทุนในการป้องกันควบคุมโรค ราคาวัตถุดิบอาหารที่เพิ่มขึ้น ประกอบกับต้นทุนค่าขนส่งสินค้านำเข้าที่มีแนวโน้มจะยืนระดับสูงต่อเนื่อง และผลจากเงินบาทที่มีแนวโน้มผันผวนอ่อนค่า อย่างไรก็ดี ภายใต้ส... อ่านต่อ
1 กันยายน 2564
ศูนย์วิจัยกสิกรไทย ประเมินว่า ศูนย์วิจัยกสิกรไทย ประเมินว่า ในปี 2564 มูลค่าการใช้จ่ายสำหรับบริการทางการแพทย์ที่บ้านของไทย จะอยู่ที่ 2,200 – 2,300 ล้านบาท เติบโตได้เล็กน้อยที่ 2.4% (YoY) แม้ว่าตลาดจะเติบโตได้จากการเพิ่มขึ้นของผู้ให้บริการ ประเภทการบริการที่หลากหลายขึ้น รวมทั้งสถานการณ์โควิด-19 ที่ทำ... อ่านต่อ
25 สิงหาคม 2564
ศูนย์วิจัยกสิกรไทย มองว่า แม้ไทยจะต้องเผชิญปัญหา Supply Disruption จากโควิด-19 ในระยะสั้น แต่ในปี 2564 มูลค่าการส่งออกมังคุดสดของไทยอาจอยู่ที่ราว 540-560 ล้านดอลลาร์สหรัฐฯ หรือขยายตัวร้อยละ 14.6-18.8 (YoY) จากแรงผลักด้านราคาส่งออกเป็นสำคัญ และแม้อินโดนีเซียจะเข้ามาแย่งส่วนแบ่งตลาดในจี... อ่านต่อ
23 สิงหาคม 2564
ในเดือนก.ค. ตัวเลขการส่งออกไทยยังคงขยายตัวแข็งแกร่งต่อเนื่องที่ 20.27%YoY ซึ่งเป็นระดับสูงสุดในรอบ 11 ปี และสูงกว่าตลาดคาดการณ์ที่ 19.7% โดยใน 7 เดือนแรกของปี 2564 ตัวเลขส่งออกไทยเติบโตที่ 16.2% ซึ่งเติบโตไปในทิศทางเดียวกับตลาดในภูมิภาคแต่ระดับของการเติบโตยังคงต่ำกว่าประเทศอื่น ๆ ที่สามารถขยายตัวได้... อ่านต่อ
19 สิงหาคม 2564
สถานการณ์การระบาดของโควิด-19 ในประเทศที่ยังไม่คลี่คลาย จำนวนผู้ติดเชื้อใหม่รายวันที่ยังทรงตัวสูง ทำให้ภาครัฐจำเป็นต้องยกระดับของมาตรการควบคุมการแพร่ระบาด ซึ่งรวมถึงการจำกัดการให้บริการของร้านอาหารเหลือเพียงช่องทางการสั่งซื้อที่หน้าร้านและการสั่งผ่านแอปพลิเคชั่นจัดส่งอาหาร (Food Delivery) ข้อจำกัดดัง... อ่านต่อ
18 สิงหาคม 2564
โควิดระลอกใหม่กระทบการฟื้นตัวของการท่องเที่ยวระหว่างประเทศทั่วโลกและไทยในช่วงที่เหลือของปี 2564 โดยนักท่องเที่ยวต่างชาติเที่ยวไทยทั้งปี 2564 อาจจะต่ำกว่าที่เคยคาดลงมาอยู่ที่จำนวน 1.5 แสนคน... อ่านต่อ
9 สิงหาคม 2564
ศูนย์วิจัยกสิกรไทย มองว่า ตลาดโปรตีนทางเลือกในไทยน่าจะเติบโตได้จากการเข้าถึงสินค้าที่ง่ายของผู้บริโภคผ่านหลากหลายช่องทางการจำหน่าย บวกกับความต้องการที่มาจากกลุ่มผู้บริโภคที่ต้องการลดการบริโภคเนื้อสัตว์และกลุ่ม Flexitarian ที่เพิ่มขึ้น อย่างไรก็ดี ในภาวะที่เศรษฐกิจและกำลังซื้อของผู้บริโภคยังเปร... อ่านต่อ
6 สิงหาคม 2564
ศูนย์วิจัยกสิกรไทยประเมินว่า มูลค่าการใช้จ่ายสำหรับอุปกรณ์ทางการแพทย์และอำนวยความสะดวกและความปลอดภัยสำหรับผู้สูงอายุในไทย ปี 2564 จะอยู่ที่ 8,000 – 9,000 ล้านบาท และคาดว่าจะเติบได้เฉลี่ย 7.8% ต่อปี ในระยะ 5 ปีข้างหน้า สอดคล้องกับการเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุของไทย โดยสัดส่วนมูลค่าตลาดส่วนใหญ่ยังเป็นเม็ด... อ่านต่อ
ศูนย์วิจัยกสิกรไทย มองว่า พืชเกษตรที่มีศักยภาพเพื่อใช้เป็นวัตถุดิบในการผลิตโปรตีนจากพืชที่เป็นอาหารแห่งอนาคตของไทย คือ ถั่วเขียว ต้นอ่อนทานตะวัน งาดำ ข้าวกล้องหอมมะลิ และเห็ดฟาง ภายใต้เกณฑ์การวิเคราะห์ที่กำหนด คือ 1) เป็นพืชที่มีระดับโปรตีนสูงใกล้เคียงกับโปรตีนจากเนื้อสัตว์คือ มีปริมาณโปรตีนร้อยละ 1... อ่านต่อ
5 สิงหาคม 2564
ท่ามกลางกระแสรักษ์โลกที่ดำเนินอยู่ในปัจจุบัน การส่งออกเม็ดพลาสติกชีวภาพ PLA (Polylactic Acid) ของไทยในช่วงที่ผ่านมามีแนวโน้มขยายตัวต่อเนื่องในระดับที่สูงกว่าการขยายตัวของอุปสงค์ PLA โลก โดยมีแรงหนุนหลักจากกำลังการผลิตของไทยที่เพิ่มสูงขึ้นในแต่ละปีจากการปรับจูนสายการผลิต ในขณะที่อุปทานในส่วนอื่นของโล... อ่านต่อ
4 สิงหาคม 2564
ศูนย์วิจัยกสิกรไทยมองว่า ธุรกิจขนส่งสินค้าออนไลน์ หรือ Last-mile delivery เป็นหนึ่งในธุรกิจที่ขยายตัวตามการเติบโตของธุรกิจ E-commerce โดยเฉพาะในช่วงที่มีการระบาดของโควิด ทำให้ผู้บริโภคกังวลในเรื่องของความปลอดภัยและงดทำกิจกรรมนอกบ้าน ส่งผลให้ผู้บริโภคต่างมีการปรับพฤติกรรมการใช้จ่ายและหันมาซื้อสินค้าบ... อ่านต่อ
29 กรกฎาคม 2564
หลังสถานการณ์การระบาดของโควิด-19 รอบใหม่ ที่สายพันธุ์เดลตาได้กลายมาเป็นภัยคุกคามหลัก และส่งผลให้จำนวนผู้ติดเชื้อในหลายๆ ประเทศรวมทั้งไทยกลับมาพุ่งขึ้นอีกครั้งและมีแนวโน้มจะกระทบต่อเศรษฐกิจของแต่ละประเทศในระยะยาวหากไม่สามารถจำกัดวงการแพร่ระบาดได้ ซึ่งจากผลของการกลับมาระบาดอย่างรุนแรงในรอบนี้ ศูนย์วิจ... อ่านต่อ
27 กรกฎาคม 2564
ธุรกิจโรงพยาบาลเอกชนเป็นหนึ่งในธุรกิจที่ได้รับผลกระทบจากโควิด-19 โดยเฉพาะกลุ่มที่พึ่งพารายได้จากคนไข้ต่างชาติที่เป็น Medical Tourism ซึ่งไม่สามารถเดินทางเข้ามาใช้บริการในประเทศได้เช่นเดียวกับนักท่องเที่ยวต่างชาติ โดยศูนย์วิจัยกสิกรไทยคาดว่า การระบาดของโควิด-19 ภายในประเทศระลอกนี้ที่สถานการณ์ยังคงรุน... อ่านต่อ
23 กรกฎาคม 2564
ในเดือนมิ.ย. 64 การส่งออกของไทยขยายตัวแข็งแกร่งต่อเนื่องที่ 43.82% ซึ่งเป็นระดับสูงสุดในรอบ 11 ปี และสูงกว่าตลาดการณ์ที่ 38.1% ส่งผลให้การส่งออกไทยในครึ่งปีแรกเติบโตที่ 15.53% อย่างไรก็ตาม ระดับดังกล่าวไม่นับว่าสูงมากเมื่อเทียบการฟื้นตัวของการส่งออกของประเทศในภูมิภาคที่ขยายตัวได้ไม่ต่ำกว่า 20% ในช่ว... อ่านต่อ
15 กรกฎาคม 2564
ศูนย์วิจัยกสิกรไทย มองว่า BCG Model เป็นรูปแบบที่ดีในการยกระดับสู่การพัฒนาที่ยั่งยืน โดยมีสาขาเกษตรและอาหารเป็นตัวชูโรง ด้วยจุดแข็งด้านความหลากหลายทางชีวภาพ และสถานการณ์โควิด-19 จะเป็นจุดเปลี่ยนสำคัญต่อเทรนด์รักสุขภาพและความมั่นคงด้านอาหาร อันจะเป็นตัวเร่งให้ไทยต้องยกระดับการผลิตสินค้าเกษตรทั้งในแง่... อ่านต่อ
14 กรกฎาคม 2564
ศูนย์วิจัยกสิกรไทยประเมินว่า เม็ดเงินการใช้จ่ายสำหรับ Health Tech ในไทยปี 2564 จะอยู่ที่ประมาณ 300-400 ล้านบาท โดยมูลค่าตลาดส่วนใหญ่ยังเป็นรูปแบบ B2B ซึ่งให้บริการผ่านสถานพยาบาลรายใหญ่เป็นหลัก และเป็นเทคโนโลยีที่ไม่ซับซ้อน อย่างไรก็ตาม ศูนย์วิจัยกสิกรไทยมองว่า ในระยะ 3 -5 ปีข้างหน้า ตลาด ... อ่านต่อ
9 กรกฎาคม 2564
จากสถานการณ์โควิค-19 ในประเทศที่ยืดเยื้อจนล่าสุดภาครัฐจำเป็นต้องยกระดับความเข้มงวดผ่านมาตรการล็อกดาวน์-เคอร์ฟิวในพื้นที่เสี่ยง มีผลกระทบต่อเนื่องต่อการปรับพฤติกรรมของผู้บริโภคให้ยังคงต้องประหยัดและใช้จ่ายอย่างระวัง และด้วยลักษณะสินค้าในกลุ่มขนมขบเคี้ยวมีความจำเป็นต่อการบริโภคน้อยกว่ากลุ่มอาหารหลักอื... อ่านต่อ
8 กรกฎาคม 2564
ศูนย์วิจัยกสิกรไทย มองว่า ภาพรวมสินค้าเกษตรของไทยในช่วงครึ่งหลังของปี 2564 น่าจะให้ภาพขยายตัวชะลอลงจากครึ่งแรกของปี เนื่องจากราคาสินค้าเกษตรส่วนใหญ่มีแนวโน้มปรับตัวลดลง ตามอุปทานสินค้าเกษตรที่ขยายตัวเร่งขึ้นเป็นร้อยละ 1.1-3.0 (YoY) จากปริมาณน้ำฝนที่เอื้อต่อการผลิตมากขึ้น โดยเฉพาะข้าวนาปีที่จะมีผลผลิ... อ่านต่อ
6 กรกฎาคม 2564
การรับจ้างผลิตรถ EV บนแพลทฟอร์มแบบเปิด เป็นโมเดลธุรกิจใหม่ที่แตกต่างจากโมเดลของค่ายรถกระแสหลัก โดยโมเดลธุรกิจดังกล่าว จะเปิดกว้างให้ผู้เล่นที่สนใจตลาดรถ EV แต่ไม่มีแพลทฟอร์มเป็นของตนเองสามารถใช้แนวทางจ้างผลิตเพื่อเข้าสู่ตลาดรถ EV ได้ ทั้งนี้ ศูนย์วิจัยกสิกรไทย มองว่า ผู้ประกอบการรับจ้างผลิตรถ EV บนแ... อ่านต่อ
5 กรกฎาคม 2564
การระบาดของโควิด-19 ในรอบนี้ที่ยาวนานและการยกระดับมาตรการควบคุมในเขตกรุงเทพและปริมณฑล ได้ส่งผลกระทบเป็นอย่างมา ต่อธุรกิจร้านอาหาร โดยเฉพาะอย่างยิ่งธุรกิจร้านอาหารที่รายได้หลักมาจากการให้บริการนั่งทานในร้าน (Full Service) กอปรกับความไม่แน่นอนของสถานการณ์การแพร่ระบาด ซึ่งส่งผลต่อความมั่น... อ่านต่อ
ศูนย์วิจัยกสิกรไทยมองว่า มาตรการกึ่งล็อกดาวน์ที่ให้มีการหยุดการก่อสร้าง 1 เดือน (ตั้งแต่วันที่ 28 มิถุนายน จนถึง 28 กรกฎาคม 2564) น่าจะส่งผลกระทบต่ออุตสาหกรรมก่อสร้างโดยเฉพาะโครงการก่อสร้างในพื้นที่กรุงเทพฯ และปริมณฑลที่มีสัดส่วน 51% ของมูลค่าก่อสร้างทั้งประเทศ และเป็นโครงสร้างพื้นฐานขนาดใหญ่ของภาคร... อ่านต่อ
1 กรกฎาคม 2564
การเดินหน้าแผนการเปิดรับนักท่องเที่ยวต่างชาติเที่ยวไทยระยะที่ 2 บททดสอบสำคัญ หากในพื้นที่ไม่พบความเสี่ยงการระบาดของโควิด น่าจะส่งผลบวกต่อทิศทางการดำเนินแผนการเปิดรับนักท่องเที่ยวต่างชาติในระยะถัดไป อย่างไรก็ดี จากสถานการณ์โควิด-19 ที่มีความเสี่ยงสูงขึ้นทั้งในและต่างประเทศ ทำให้ทิศทางนักท่องเที่ยวต่า... อ่านต่อ
25 มิถุนายน 2564
การทยอยฟื้นตัวของเศรษฐกิจโลกจากการแพร่ระบาดของไวรัสโควิด-19 ทั่วโลกที่เริ่มมีสัญญาณดีขึ้นส่งผลให้ ศูนย์วิจัยกสิกรไทยประเมินว่า การส่งออก PCB ปี 2564 จะขยายตัวต่อเนื่องราวร้อยละ 20.1 ถึง 24.1 หรือมีมูลค่าส่งออกราว 1,573 ถึง 1,626 ล้านดอลลาร์ฯ นำโดยความต้องการสินค้าในกลุ่ม ICT ซึ่งขับเคลื่อนโดยการลงทุ... อ่านต่อ
ไทยเป็นผู้ส่งออกทุเรียนสดอันดับ 1 ของโลก ล่าสุดการส่งออกเฉพาะเดือนพฤษภาคม 2564 แตะมูลค่ารายเดือนสูงที่สุดเป็นประวัติการณ์ที่ 934.9 ล้านดอลลาร์ฯ ขยายตัวร้อยละ 95.3 (YoY) นำโดยการส่งออกไปจีนที่เป็นตลาดหลักเติบโตสูงถึงร้อยละ 130.9 (YoY) โดย ศูนย์วิจัยกสิกรไทย มองว่า ปริมาณผลผลิตทุเรียนที่ออกสู่ตลาดในปี... อ่านต่อ
24 มิถุนายน 2564
มีความเป็นไปได้ที่ในปี 2566 EU จะพิจารณาใช้กลไกการจัดการการปล่อยคาร์บอนข้ามแดน Carbon Border Adjustment (CBA) สำหรับสินค้าและบริการข้ามแดนที่มีต้นกำเนิดนอก EU ตามแผน European Green Deal ในระยะแรกการบังคับใช้ CBA น่าจะจัดเก็บภาษีสินค้าแบบ Sector -based และสินค้าในภาคที่มีการปล่อยคาร์บอนฯ สูงโดยเปรียบ... อ่านต่อ
การส่งออกไทยในเดือนพ.ค. 64 ขยายตัวสูงสุดในรอบเกือบ 11 ปีที่ 41.59% YoY ขณะที่ เมื่อหักสินค้าเกี่ยวเนื่องกับน้ำมัน ทองคำ และอาวุธ ยุทธปัจจัย การส่งออกไทยเดือนพ.ค. ขยายตัวที่ 45.87% YoY ส่งผลให้การส่งออกไทยใน 5 เดือนแรกของปีนี้ขยายตัวที่ 10.78% YoY และเมื่อหักสินค้าเกี่ยวเนื่องกับน้ำมัน ทองคำ และอาวุธ... อ่านต่อ
21 มิถุนายน 2564
ศูนย์วิจัยกสิกรไทยยังคงมีมุมมองที่ระมัดระวังต่อค้าปลีกในช่วงที่เหลือของปี 2564 โดยคาดว่า ยอดขายค้าปลีกทั้งปีจะยังหดตัวร้อยละ 2.0 เมื่อเทียบกับปีก่อน อย่างไรก็ตาม จุดที่ต้องจับตา คือ การฉีดวัคซีนในช่วง 2-3 เดือนจากนี้ (มิ.ย.-ก.ย.) รวมถึงไม่มีการระบาดระลอกใหม่ที่รุนแรงเกิดขึ้น ซึ่งคาดว่าจะมีผลต่อความเ... อ่านต่อ
8 มิถุนายน 2564
สถานการณ์โควิด-19 ที่ยังพบคลัสเตอร์การระบาดใหม่ในหลายพื้นที่ ทำให้การกลับมาเปิดภาคเรียนในวันที่ 14 มิ.ย. 64 ยังมีความไม่แน่นอนสูง ซึ่งหนึ่งในแนวทางลดผลกระทบ คือ การเรียนออนไลน์ ศูนย์วิจัยกสิกรไทย มองว่า การเรียนออนไลน์ เป็นภาวะจำเป็นในช่วงที่ยังมีการระบาดของโรคโควิด แต่อุปสรรคที่สำคัญคือ ความไม่พร้อ... อ่านต่อ
1 มิถุนายน 2564
ทิศทางตลาดที่อยู่อาศัยในเขตกรุงเทพและปริมณฑลในช่วงครึ่งหลังของปี 2564 ยังมีโจทย์ท้าทายสูง นอกจากกำลังซื้อที่อ่อนแรง ผู้ประกอบการยังต้องเผชิญกับปัจจัยท้าทายสำคัญทางธุรกิจ อาทิ ต้นทุนทางธุรกิจที่สูงขึ้นและการขาดแคลนแรงงานก่อสร้าง รวมถึงต้นทุนทางการเงินที่เพิ่มขึ้นขณะที่แหล่งเงินทุนมีจำกัด ... อ่านต่อ
28 พฤษภาคม 2564
การส่งออกรถยนต์ปี 2564 มีโอกาสฟื้นตัว หลังประเทศคู่ค้าสำคัญเริ่มควบคุมการระบาดของเชื้อไวรัสโควิด-19 ได้ดีขึ้นกว่าปีก่อน และค่ายรถโยกฐานผลิตเพื่อส่งออกมายังไทยเพิ่มขึ้น ทว่าจากความเสี่ยงที่ยังกดทับอยู่ ทำให้ศูนย์วิจัยกสิกรไทยยังมีมุมมองที่ระมัดระวังโดยคาดว่ายอดส่งออกรถยนต์จะอยู่ระหว่าง 890,000 – 950,... อ่านต่อ
25 พฤษภาคม 2564
นับแต่ต้นปี 2564 ราคาสินค้าโภคภัณฑ์ โดยเฉพาะเหล็ก ทองแดง และปิโตรเคมีภัณฑ์ ซึ่งมักถูกใช้เป็นวัตถุดิบหลักในอุตสาหกรรมการผลิต มีแนวโน้มปรับตัวสูงขึ้นอย่างรวดเร็ว สะท้อนจากดัชนีราคาสินค้าโภคภัณฑ์ (CRB Index) ที่เพิ่มสูงขึ้นกว่าร้อยละ 20 นับจากต้นปี ทั้งนี้ การเพิ่มขึ้นของราคาวัตถุดิบดังกล่าวมีส่วนกดดัน... อ่านต่อ
... อ่านต่อ
24 พฤษภาคม 2564
แม้ปัจจุบันการใช้เทคโนโลยีการเกษตรสมัยใหม่ หรือ AgriTech ในไทยจะยังอยู่ในระยะเริ่มต้น แต่ศูนย์วิจัยกสิกรไทย มองว่า AgriTech ในไทยจะมีบทบาทมากขึ้นในช่วง 3-5 ปีข้างหน้า จากราคาเทคโนโลยีที่ถูกลงและความรู้ด้านเทคโนโลยีที่เพิ่มขึ้น ซึ่งจะทำให้ผู้ใช้ AgriTech ในทุกระดับตั้งแต่กลุ่มเกษตรกรรุ... อ่านต่อ
8 พฤษภาคม 2564
ศูนย์วิจัยกสิกรไทย ประเมินว่า ในช่วงที่เหลือของปี 2564 ราคาสินค้าพืชเกษตรหลักส่วนใหญ่น่าจะให้ภาพที่ลดลงเมื่อเทียบกับช่วง 4 เดือนแรก ทั้งในรายการข้าว ยางพารา มันสำปะหลัง ปาล์มน้ำมัน และอ้อย เนื่องจากได้รับแรงกดดันเป็น Double Shock ทั้งในฝั่งของอุปทานที่มีผลผลิตออกสู่ตลาดจำนวนมาก จากสภ... อ่านต่อ
7 พฤษภาคม 2564
เมื่อเทรนด์โลกหลังโควิดทำให้เกิดการปรับเปลี่ยนซัพพลายเชนจากรูปแบบห่วงโซ่การผลิตที่มีจีนเป็นศูนย์กลาง มาเป็นห่วงโซ่การผลิตในระดับภูมิภาคกระจายทั่วโลก ศูนย์วิจัยกสิกรไทยคาดการณ์ว่า ประเทศไทยจะได้รับเม็ดเงินลงทุนต่างชาติไหลเข้าเพิ่มขึ้นรวมประมาณ 1,100 – 1,400 ล้านเหรียญสหรัฐ ในช่วงปี 2564-2566 หรือเพิ่... อ่านต่อ
30 เมษายน 2564
ธุรกิจร้านอาหารได้รับผลกระทบเพิ่มเติมจากการแพร่ระบาดของโควิด-19 รอบใหม่ โดยการประกาศยกระดับห้ามรับประทานอาหารภายในร้านของพื้นที่ควบคุมสูงสุดและเข้มงวด (สีแดงเข้ม) ประกอบกับการชะลอตัวของเศรษฐกิจและความเสี่ยงต่อการเลิกจ้างงาน กดดันกำลังซื้อของผู้บริโภคในประเทศให้มีการระมัดระวังการใช้จ่ายมากยิ่งขึ้น จ... อ่านต่อ
29 เมษายน 2564
นับแต่ปลายปี 2563 อุตสาหกรรมยานยนต์ทั่วโลกประสบกับปัญหาขาดแคลนชิป (Chip) โดยมีสาเหตุพื้นฐานมาจากความเปราะบางของโครงสร้างอุตสาหกรรมการผลิตชิปสำหรับการผลิตรถยนต์ ทำให้เมื่อเกิดสถานการณ์อุปสงค์และอุปทานชิปที่ผันผวนจากหลายฉนวนเหตุ เช่น การแพร่ระบาดของโควิด-19 และเหตุเพลิงไหม้โรงงานชิปในญี่ปุ่น เป็นต้น จ... อ่านต่อ
การกลับมาระบาดอีกครั้งในรอบที่ 3 ของโควิด-19 ในไทย ซึ่งแม้จะไม่มีการประกาศล็อกดาวน์ แต่มุมมองของประชาชนต่อการระบาดในครั้งใหม่ที่ส่งผลให้มียอดผู้ติดเชื้อและเสียชีวิตมากกว่าการระบาดในทุกครั้งนี้ ยังผลให้เกิดความกังวลต่อรายได้ที่จะเกิดขึ้นในอนาคต และกระทบต่อการบริโภคในกิจกรรมทางเศรษฐกิจส่วนใหญ่ตามมา ทั... อ่านต่อ
26 เมษายน 2564
ผลกระทบจากโควิด-19 ระลอกสาม จะฉุดรั้งมูลค่าการใช้จ่ายของผู้บริโภคในกลุ่มสินค้าอาหารและเครื่องดื่มปี 2564 ส่งผลให้ผู้ประกอบการยังคงเผชิญกับความยากลำบากในการเพิ่มยอดขายในปีนี้ ศูนย์วิจัยกสิกรไทย ประเมินว่า ในกรณีฐาน หากสามารถควบคุมการแพร่ระบาดได้ภายใน 3 เดือนข้างหน้า (โดยจำนวนผู้ติดเชื้อรายใหม่ใกล้เคี... อ่านต่อ
23 เมษายน 2564
กัญชง มีศักยภาพจะเป็นพืชเศรษฐกิจหรือ Cash Crop ด้วยการนำไปใช้ประโยชน์ในอุตสาหกรรมปลายน้ำที่หลากหลายและมีมูลค่าเพิ่มสูง ขณะที่ ในฝั่งของอุปทาน ผลผลิตกัญชงรอบแรกหลังการปลดล็อก คงจะเริ่มออกมาในช่วงไตรมาสที่ 4 ของปีนี้ และคาดว่าจะมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นตามลำดับ อย่างไรก็ดี การลงทุนปลูกกัญชงถือว่าไม่ง่ายนักแล... อ่านต่อ
ตัวเลขการส่งออกในเดือนมี.ค.64 เมื่อหักสินค้าเกี่ยวเนื่องกับน้ำมัน ทองคำ และอาวุธ ยุทธปัจจัย ขยายตัวได้ถึงร้อยละ 8.47 YoY สอดคล้องกับตัวเลขการส่งออกในภูมิภาคที่เติบโตดี... อ่านต่อ
22 เมษายน 2564
ภายใต้ความเสี่ยงที่การควบคุมการระบาดระลอก 3 ที่น่าจะใช้ระยะเวลานานกว่ารอบก่อนหน้า เนื่องจากพบผู้ติดเชื้อสูงและการแพร่เชื้อที่เร็ว ทำให้เกิดความเสี่ยงที่จะส่งผลกระทบต่อแผนการเปิดรับนักท่องเที่ยวต่างชาติในช่วงที่เหลือของปีนี้ ประกอบกับสภาพแวดล้อมการท่องเที่ยวที่ยังมีความไม่แน่นอนสูง จากการระบาดของโรคโ... อ่านต่อ
12 เมษายน 2564
ก้าวเข้าสู่ไตรมาส 2 ของปี 2564 พร้อมกับการกลับมาระบาดของโรคโควิด-19 ในประเทศเป็นระลอกที่ 3 อีกครั้ง ซึ่งนับเป็นข่าวร้ายต่อภาคธุรกิจท่องเที่ยวที่กำลังเริ่มกลับมาสู่เส้นทางการฟื้นตัวหลังจากที่ต้องหยุดชะลอลงจากเหตุการณ์การระบาดของโควิดในช่วงปลายปีที่ผ่านมา ซึ่งจากข้อมูลของกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬาล่า... อ่านต่อ
5 เมษายน 2564
การส่งออก HDD ของไทยโดยรวมในปี 2564 คาดว่าจะยังคงหดตัวต่อเนื่องทั้งเชิงปริมาณและมูลค่า โดยแรงกดดันหลักมาจากการส่งออก Consumer HDD จากการเปลี่ยนผ่านสู่เทคโนโลยี SSD ขณะที่ การส่งออก Enterprise HDD คาดว่าจะยังคงมีมูลค่าเพิ่มสูงขึ้นตามความต้องการใช้งานในการลงทุน Cloud computing ที่เพิ่มขึ้นตามปริมาณชุด... อ่านต่อ
2 เมษายน 2564
จากที่คณะกรรมการนโยบายยานยนต์ไฟฟ้าแห่งชาติได้กำหนดเป้าหมายใหม่ออกมาเมื่อวันที่ 24 มีนาคม 2564 เพื่อเร่งผลักดันให้ไทยขึ้นเป็นฐานการผลิตรถยนต์ ZEV ที่สำคัญแห่งหนึ่งของโลก โดยวางเป้าหมายที่ท้าทายให้ไทยผลิตรถยนต์ ZEV ได้ 100% ของกำลังการผลิตทั้งหมดในปี 2578 นั้น ศูนย์วิจัยกสิกรไทยมองว่าจะมีส่วนช่วยอย่าง... อ่านต่อ
31 มีนาคม 2564
ประเทศไทยกำลังอยู่ท่ามกลางกระแสการลงทุนของค่ายรถยนต์และพันธมิตรในการเข้ามาตั้งฐานผลิตรถยนต์ xEV และโรงงานแบตเตอรี่ลิเธียมอิออน อย่างไรก็ดี บทบาทของไทยในการผลิตแบตเตอรี่ยังคงเป็นเพียงในลักษณะของการประกอบชิ้นส่วนนำเข้าเพื่อรองรับสายพานการผลิตรถยนต์ xEV ในประเทศเป็นหลัก แม้ว่าจะมีผู้ประกอบไทยจากอุตสาหก... อ่านต่อ
26 มีนาคม 2564
การท่องเที่ยวในประเทศช่วงวันหยุดยาวเทศกาลสงกรานต์ปี 2564 นี้ ศูนย์วิจัยกสิกรไทย มองว่า บรรยากาศการท่องเที่ยวน่าจะดีขึ้น แม้ในปีนี้การฉลองเทศกาลสงกรานต์จะแตกต่างจากในปีก่อนที่จะเกิดการระบาดของโควิด เนื่องจากยังอยู่ในช่วงของการเฝ้าระวังการแพร่ระบาดของโควิด-19 ทำให้ทางการจึงงดการจัดกิจกรรมการสาดน้ำ การ... อ่านต่อ
25 มีนาคม 2564
ศูนย์วิจัยกสิกรไทยคาดว่า ในปี 2564 ยอดขายร้านค้าวัสดุก่อสร้างอาจฟื้นตัวเล็กน้อยจากปีก่อนประมาณ 0.2%-1.9% หรือมีมูลค่าตลาดประมาณ 8.03-8.17 แสนล้านบาท โดยมีแรงหนุนจากความต่อเนื่องของการลงทุนก่อสร้างของภาครัฐที่อาจเติบโต 3.3%-4.7% ซึ่งชดเชยการชะลอการลงทุนในโครงการอสังหาริมทรัพย์ของภาคเอกชนที่มีแนวโน้มห... อ่านต่อ
แนวโน้มเศรษฐกิจโลกในปี 2564 ที่ส่งสัญญาณการฟื้นตัวดีกว่าที่เคยประเมินจากปัจจัยความคืบหน้าของการกระจายวัคซีนและการขยายตัวของเศรษฐกิจสหรัฐฯ ที่ได้แรงหนุนจากมาตรการกระตุ้นเศรษฐกิจส่งผลให้เศรษฐกิจโลกจะฟื้นตัวเข้าสู่ระดับก่อนเกิดโควิด-19 ดังนั้นการส่งออกของไทยจึงได้รับอานิสงส์ไปด้วย โดยในเดือนก.พ. เศรษฐก... อ่านต่อ
19 มีนาคม 2564
การเริ่มฉีดวัคซีนโควิด-19 เอื้อให้กิจกรรมทางเศรษฐกิจทั่วโลกฟื้นตัว อานิสงส์ต่อภาพรวมการส่งออกของไทยปี 2564 กลับมาเติบโตสดใสร้อยละ 4.5 (กรอบประมาณการที่ร้อยละ 3.5-5.5) ซึ่งการส่งออกไปยังตลาดสหรัฐฯ และจีนกลับมาเติบโตดีกว่าตลาดอื่นๆ ขณะที่การส่งออกสินค้าในภาพรวมก็ดีด้วยเช่นกัน โดยเฉพาะสินค้าที่เป็นหัวใ... อ่านต่อ
16 มีนาคม 2564
ศูนย์วิจัยกสิกรไทยคาดว่าในปี 2564 ยอดขายรถยนต์กลุ่ม HEV และ PHEV น่าจะมียอดขายประมาณ 48,000 ถึง 50,000 คัน หรือขยายตัวกว่าร้อยละ 63 ถึง 70 และจะกลายมาเป็นโมเดลมาตรฐานสำหรับรถยนต์ในหลายรุ่น เพื่อเตรียมพร้อมการเปลี่ยนไปสู่เทคโนโลยีการขับเคลื่อนรูปแบบใหม่อย่างสมบูรณ์ในอนาคต ขณะที่รถยนต์ BEV น่าจะมียอดข... อ่านต่อ
15 มีนาคม 2564
ศูนย์วิจัยกสิกรไทย มองว่า ในปี 2564 ภาพการส่งออกข้าวของไทยน่าจะสามารถประคองตัวต่อไปได้ที่ราว 5.8-6.0 ล้านตัน หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 1.3-4.8 (YoY) ซึ่งเป็นอัตราที่สูงกว่าการเติบโตของความต้องการข้าวทั้งหมดในตลาดโลกที่ร้อยละ 1.7 โดยมีตัวผลักดันจากข้าวหอมมะลิที่ส่งออกไปสหรัฐอเมริกามีการเติบ... อ่านต่อ
12 มีนาคม 2564
ศูนย์วิจัยกสิกรไทยมองว่า แม้ว่าคนไทยจะให้ความสำคัญกับปัญหาด้านสิ่งแวดล้อมมากขึ้น แต่การที่จะตัดสินใจเลือกซื้อสินค้าและบริการที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมหรือไม่นั้นยังขึ้นอยู่กับหลายปัจจัย ไม่ว่าจะเป็นการช่วยลดหรือแก้ปัญหาด้านสิ่งแวดล้อมได้จริงหรือไม่ รวมถึงสินค้าและบริการที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมจะต้อง... อ่านต่อ
25 กุมภาพันธ์ 2564
สถานการณ์ภัยแล้งในปี 2564 (มกราคม–เมษายน 2564) นับว่าไม่รุนแรง และน่าจะมีความรุนแรงน้อยกว่าปี 2563 พิจารณาจากปริมาณน้ำในเขื่อนที่ลดลงเพียงร้อยละ 7.3 (YoY) ซึ่งเป็นการลดลงเฉพาะในภาคตะวันตกเท่านั้น ขณะที่ภาคอื่นๆ ยังมีปริมาณน้ำในเขื่อนมากกว่าปีก่อน ... อ่านต่อ
23 กุมภาพันธ์ 2564
เศรษฐกิจโลกเริ่มฟื้นตัวในทิศทางที่ดีขึ้น ส่งผลให้ตัวเลขส่งออกในเดือนม.ค. 2564 ขยายตัวเป็นบวกได้ต่อเนื่องจากเดือนก่อน และเมื่อหักทองคำออกขยายตัวในระดับสูงที่ร้อยละ 6.3 ซึ่งเป็นการสะท้อนความต้องการสินค้าส่งออกไทยที่มากขึ้น ... อ่านต่อ
19 กุมภาพันธ์ 2564
แม้จะยังมีปัญหาโควิด-19 ค้างคาอยู่ แต่การค้าชายแดนปี 2564 มีสัญญาณปรับตัวดีขึ้นตามเศรษฐกิจคู่ค้าที่น่าจะเข้าสู่เส้นทางฟื้นตัวจากจุดต่ำสุด ศูนย์วิจัยกสิกรไทย มองว่า ในระยะต่อไปการส่งออกสินค้าผ่านแดนไปยังประเทศที่ 3 (จีน เวียดนามและสิงคโปร์) จะกลายมาเป็นแรงขับเคลื่อนใหม่ต่อจากนี้ โดยเฉพาะสินค้าดาวรุ่ง... อ่านต่อ
18 กุมภาพันธ์ 2564
ศูนย์วิจัยกสิกรไทยมองว่า นอกเหนือจากความแตกต่างในเรื่องของรายได้ของผู้บริโภคที่มีผลต่อการทำการตลาดของผู้ประกอบการแล้ว การเปลี่ยนแปลงของกลุ่มผู้บริโภคจากความแตกต่างของช่วงวัย (Generation Gap) ที่ซับซ้อนขึ้น โดยเฉพาะกลุ่มผู้สูงอายุ (Elderly) กับกลุ่มคนรุ่นใหม่ (Gen ME) ซึ่งคาดว่าจะมีสัดส่วนรวมกันกว่าร... อ่านต่อ