17 มิถุนายน 2565
สถาบันการเงิน
... อ่านต่อ
FileSize KB
13 มิถุนายน 2565
ศูนย์วิจัยกสิกรไทย ประเมินว่า ทิศทางคุมเข้มนโยบายการเงินเพื่อสกัดแรงกดดันเงินเฟ้อของธนาคารกลางสหรัฐฯ และธนาคารกลางชั้นนำอื่นๆ ในฝั่งตะวันตกและเอเชีย (ยกเว้น จีนและญี่ปุ่น) น่าจะมีจังหวะที่สอดคล้องกันมากขึ้นในช่วงครึ่งหลังของปี 2565 โดยธนาคารกลางที่มีแนวโน้มเริ่มปรับขึ้นอัตราดอกเบี้ยนโยบายตามมาในช่วง... อ่านต่อ
2 มิถุนายน 2565
ในการประชุมกนง. ที่จะถึงนี้ คาดว่ากนง. จะคงดอกเบี้ยนโยบายที่ร้อยละ 0.50 เพื่อสนับสนุนการฟื้นตัวทางเศรษฐกิจที่ยังฟื้นตัวไม่เต็มที่ อย่างไรก็ดี กนง. คงเผชิญความท้าทายมากขึ้นในการคงนโยบายการเงินแบบผ่อนคลายในระยะข้างหน้า ซึ่งยังมองความเป็นไปได้ที่กนง. จะปรับขึ้นดอกเบี้ยนโยบายในไตรมาส 4/ 2565 เศรษฐกิจไท... อ่านต่อ
23 พฤษภาคม 2565
ตลาดการเงิน
16 พฤษภาคม 2565
9 พฤษภาคม 2565
2 พฤษภาคม 2565
25 เมษายน 2565
18 เมษายน 2565
11 เมษายน 2565
4 เมษายน 2565
1 เมษายน 2565
ยอดคงค้างหนี้ครัวเรือนไทยในปี 2564 เติบโต 3.9% ใกล้เคียงกับ 4.0% ในปี 2563 แต่เมื่อเทียบกับขนาดเศรษฐกิจที่ยังเติบโตช้า ทำให้สัดส่วนหนี้ครัวเรือนต่อจีดีพียังคงขยับสูงขึ้นมาที่ระดับ 90.1% ในปี 2564 จากระดับ 89.7% ในปี 2563 อย่างไรก็ดี สัดส่วนหนี้ครัวเรือนดังกล่าวยังคงเป็นระดับสูง และเป็นหนึ่งในปัญหาเ... อ่านต่อ
29 มีนาคม 2565
ในการประชุมกนง. ที่จะถึงนี้ คาดว่ากนง. จะคงดอกเบี้ยนโยบายที่ 0.5% เพื่อสนับสนุนการฟื้นตัวทางเศรษฐกิจที่มีความเสี่ยงมากขึ้นจากวิกฤติความขัดแย้งระหว่างรัสเซียและยูเครน อย่างไรก็ดี กนง. คงเผชิญความท้าทายมากขึ้นในการรักษาเสถียรภาพด้านราคาท่ามกลางแรงกดดันเงินเฟ้อที่พุ่งสูงขึ้น ทั้งนี้ วิกฤติรัสเซีย-ยูเ... อ่านต่อ
28 มีนาคม 2565
21 มีนาคม 2565
14 มีนาคม 2565
7 มีนาคม 2565
28 กุมภาพันธ์ 2565
24 กุมภาพันธ์ 2565
ภาพรวมธุรกิจประกันชีวิตในปี 2564 กลับมาเป็นบวกได้เล็กน้อยหลังจากที่หดตัวลง 2 ปีติดต่อกัน โดยเป็นการเติบโตจากการผลักดันยอดขายกรมธรรม์รายใหม่ โดยเฉพาะประเภทจ่ายครั้งเดียว ขณะที่เบี้ยปีต่ออายุไม่โต ซึ่งแม้ว่าในปี 2565 ภาพรวมธุรกิจประกันยังอยู่ในช่วงการปรับฐานต่อเนื่องจากปีก่อน เนื่องจากมีกรมธรรม์ที่ครบ... อ่านต่อ
21 กุมภาพันธ์ 2565
11 กุมภาพันธ์ 2565
7 กุมภาพันธ์ 2565
4 กุมภาพันธ์ 2565
28 มกราคม 2565
21 มกราคม 2565
14 มกราคม 2565
7 มกราคม 2565
30 ธันวาคม 2564
จากข้อมูลเงินให้กู้ยืมแก่ภาคครัวเรือนล่าสุด สะท้อนว่า แม้ครัวเรือนไทยจะยังคงก่อหนี้เพิ่มขึ้น แต่ก็มีสัญญาณระมัดระวังมากขึ้นสอดคล้องกับสถานการณ์เศรษฐกิจที่ยังคงได้รับผลกระทบจากการระบาดของโควิด-19 โดยยอดคงค้างหนี้ครัวเรือนไทยในไตรมาส 3/2564 อยู่ที่ระดับ 14.35 ล้านล้านบาท ขยับขึ้นประมาณ 4.2% YoY เมื่อเ... อ่านต่อ
24 ธันวาคม 2564
23 ธันวาคม 2564
ความไม่แน่นอนของสถานการณ์โควิด-19 กลับมาอีกครั้งในช่วงรอยต่อระหว่างปี 2564 เข้าสู่ปี 2565 ซึ่งปัจจัยดังกล่าวนอกจากจะเป็นตัวแปรที่มีผลต่อจังหวะการฟื้นตัวของเศรษฐกิจไทยแล้ว ยังมีนัยต่อเนื่องมายังการดำเนินธุรกิจของธนาคารพาณิชย์ในปี 2565 ด้วยเช่นกัน ซึ่งหากว่า ไทยสามารถตีกรอบควบคุมการระบาดของโอมิครอนได้... อ่านต่อ
17 ธันวาคม 2564
10 ธันวาคม 2564
3 ธันวาคม 2564
26 พฤศจิกายน 2564
16 พฤศจิกายน 2564
เงินบาทแตะระดับแข็งค่าสุดในรอบ 2 เดือนที่ 32.73 บาทต่อดอลลาร์ฯ เงินบาทขยับแข็งค่าขึ้นเกือบตลอดสัปดาห์สอดคล้องกับสัญญาณเงินทุนไหลเข้า โดยเฉพาะตลาดพันธบัตรไทย (นักลงทุนต่างชาติซื้อสุทธิพันธบัตรไทยประมาณ 4.76 หมื่นล้านบาทระหว่างวันที่ 8-12 พ.ย.) ประกอบกับน่าจะมีอานิสงส์จากแรงขายเงินดอลลาร์ฯ ของกลุ่มผู้... อ่านต่อ
5 พฤศจิกายน 2564
ศูนย์วิจัยกสิกรไทยประเมินว่า ในการประชุมคณะกรรมการนโยบายการเงิน (กนง.) ในวันที่ 10 พ.ย. นี้ กนง. จะพิจารณาคงอัตราดอกเบี้ยนโยบายที่ 0.50% หลังจากเศรษฐกิจไทยมีปัจจัยบวกจากการเปิดประเทศและการคลายล็อกดาวน์อย่างต่อเนื่อง ซึ่งส่งผลให้กิจกรรมทางเศรษฐกิจภายในประเทศทั้งการบริโภคและการลงทุนมีแนวโน้มฟื้นตัวดีข... อ่านต่อ
เงินบาทอ่อนค่าลงเมื่อเทียบกับเงินดอลลาร์ฯ โดยเงินบาทแกว่งตัวผันผวนตามจังหวะการลงทุนในตลาดหุ้นและพันธบัตรไทยของนักลงทุนต่างชาติในช่วงก่อนการประชุมเฟด แต่กลับมาเคลื่อนไหวในกรอบที่อ่อนค่าในช่วงที่เหลือของสัปดาห์ สอดคล้องกับสกุลเงินส่วนใหญ่ในภูมิภาค ขณะที่เงินดอลลาร์ฯ กลับมาได้รับแรงหนุนจากตัวเลขตลาดแรง... อ่านต่อ
29 ตุลาคม 2564
เงินบาทเคลื่อนไหวในกรอบผันผวน แต่มีทิศทางแข็งค่าขึ้นเมื่อเทียบกับเงินดอลลาร์ฯ โดยเงินบาทขยับแข็งค่าขึ้นในช่วงต้นสัปดาห์สอดคล้องกับสถานะซื้อสุทธิพันธบัตรไทยของนักลงทุนต่างชาติ ขณะที่เงินดอลลาร์ฯ ขาดแรงหนุนหลังอัตราผลตอบแทนพันธบัตรรัฐบาลสหรัฐฯ ย่อตัวลงมาอยู่ต่ำกว่าระดับ 1.60% อย่างไรก็ดีเงินบาทอ่อนค่า... อ่านต่อ
22 ตุลาคม 2564
ศูนย์วิจัยกสิกรไทย มองว่า การผ่อนเกณฑ์การกำกับดูแลสินเชื่อเพื่อที่อยู่อาศัยและสินเชื่ออื่นที่เกี่ยวเนื่อง (มาตรการ LTV) โดยปรับเพดาน LTV เป็น 100% ชั่วคราวจนถึงสิ้นปี 2565 จะช่วยเพิ่มศักยภาพในการซื้อที่อยู่อาศัย ท่ามกลางสภาพแวดล้อมของตลาดที่อยู่อาศัยและการปล่อยสินเชื่อบ้านของสถาบันการเงินในช่วงที่เห... อ่านต่อ
21 ตุลาคม 2564
เงินบาทเคลื่อนไหวในกรอบแคบ แต่ขยับอ่อนค่าเล็กน้อยเมื่อเทียบสัปดาห์ก่อน โดยเงินบาทอ่อนค่าลงท่ามกลางแรงซื้อเงินดอลลาร์ฯ ของกลุ่มผู้นำเข้า ขณะที่เงินดอลลาร์ฯ มีแรงหนุนเพิ่มเติมจากการปรับตัวขึ้นของอัตราผลตอบแทนพันธบัตรรัฐบาลสหรัฐฯ โดยบอนด์ยีลด์อายุ 10 ปีของสหรัฐฯ ขยับขึ้นแตะระดับสูงสุดในรอบ 5 เดือนที่ระ... อ่านต่อ
19 ตุลาคม 2564
เงินบาทพลิกกลับมาแข็งค่าขึ้น โดยเงินบาทแตะระดับแข็งค่าสุดในรอบ 3 สัปดาห์ที่ 33.16 บาทต่อดอลลาร์ฯ รับข่าวการเปิดประเทศที่ทางการไทยมีแผนจะดำเนินการต่อเนื่อง ประกอบกับมีแรงหนุนเพิ่มเติมจากสัญญาณซื้อสุทธิหุ้นและพันธบัตรไทยของนักลงทุนต่างชาติ ขณะที่เงินดอลลาร์ฯ อ่อนค่าลงตามการปรับตัวลงของอัตราผลตอบแทนพัน... อ่านต่อ
ศูนย์วิจัยกสิกรไทยคาดว่า กำไรสุทธิของระบบธนาคารพาณิชย์จดทะเบียนในประเทศ (ระบบธ.พ. ไทย) อยู่ที่กรอบ 3.25-3.35 หมื่นล้านบาทในไตรมาสที่ 3/2564 ลดลงเมื่อเทียบกับไตรมาส 2/2564 ที่มีกำไรสุทธิสูงถึง 5.72 หมื่นล้านบาท... อ่านต่อ
8 ตุลาคม 2564
เงินบาทแตะระดับอ่อนค่าสุดในรอบกว่า 4 ปีครั้งใหม่ที่ 33.99 บาทต่อดอลลาร์ฯ ในระหว่างสัปดาห์ โดยเงินบาททยอยอ่อนค่าลงสอดคล้องกับหลายสกุลเงินในภูมิภาค ขณะที่เงินดอลลาร์ฯ แข็งค่าขึ้นตามการปรับตัวขึ้นของบอนด์ยีลด์สหรัฐฯ โดยมีแรงหนุนจากข้อมูลดัชนี ISM ภาคบริการ ตัวเลขการจ้างงานภาคเอกชน และจำนวนผู้ขอรับสวัส... อ่านต่อ
1 ตุลาคม 2564
ข้อมูลเงินให้กู้ยืมแก่ภาคครัวเรือนล่าสุดในไตรมาส 2/2564 ยังคงเติบโตต่อเนื่อง โดยยอดคงค้างหนี้ครัวเรือนไทยในไตรมาส 2/2564 ขยับขึ้นมาอยู่ที่ 14.27 ล้านล้านบาท คิดเป็นสัดส่วน 89.3% ต่อจีดีพี ชะลอลงจากระดับ 90.6% ต่อจีดีพีซึ่งเป็นระดับสูงสุดในรอบ 18 ปีที่ทำไว้ในไตรมาส 1/2564 เนื่องจากเศรษฐกิจไทยในช่วงไต... อ่านต่อ
เงินบาทแตะระดับอ่อนค่าสุดในรอบกว่า 4 ปีที่ 33.97 บาทต่อดอลลาร์ฯ แต่สามารถฟื้นตัวได้บางส่วนช่วงท้ายสัปดาห์ โดยเงินบาทอ่อนค่าลงท่ามกลางแรงซื้อเงินดอลลาร์ฯ ในช่วงสิ้นไตรมาส ประกอบกับมีแรงกดดันจากสัญญาณขายสุทธิพันธบัตรไทยของนักลงทุนต่างชาติ ขณะที่เงินดอลลาร์ฯ เพิ่มช่วงบวกได้ต่อตามกระแสการคาดการณ์เกี่ยวก... อ่านต่อ
28 กันยายน 2564
เงินบาททยอยอ่อนค่าสอดคล้องกับแรงขายสุทธิในตลาดพันธบัตรไทยของนักลงทุนต่างชาติ และแรงกดดันต่อสินทรัพย์เสี่ยงในภาพรวมท่ามกลางความกังวลต่อสถานการณ์บริษัทอสังหาริมทรัพย์ของจีน นอกจากนี้เงินดอลลาร์ฯ ก็ได้รับแรงหนุนจากถ้อยแถลงของประธานเฟดที่สะท้อนว่า เฟดอาจเริ่มชะลอวงเงินมาตรการ QE ในเร็วๆ นี้ (อาจเป็นเดือ... อ่านต่อ
23 กันยายน 2564
ผลการประชุมธนาคารกลางสหรัฐฯ หรือเฟดรอบล่าสุด (21-23 ก.ย.) สะท้อนสัญญาณเตรียมลดวงเงินซื้อสินทรัพย์ผ่านมาตรการ QE ในไม่กี่เดือนข้างหน้า ขณะที่ตลาดประเมินโอกาสการขึ้นอัตราดอกเบี้ยนโยบายของสหรัฐฯ ในปี 2565 เพิ่มมากขึ้นตามภาพสะท้อนของ Dot Plot ล่าสุด แม้จะยังคงต้องรอประเมินสถานการณ์เศรษฐกิจและการระบาดของ... อ่านต่อ
ศูนย์วิจัยกสิกรไทยประเมินว่า ในการประชุมคณะกรรมการนโยบายการเงิน (กนง.) ในวันที่ 29 ก.ย. นี้ กนง. จะพิจารณาคงอัตราดอกเบี้ยนโยบายที่ 0.50% หลังจากจำนวนผู้ติดเชื้อโควิด-19 ในประเทศเริ่มลดลง ทั้งนี้ จากการประชุมกนง. ครั้งที่แล้วในเดือนส.ค. ที่ผ่านมา กนง. มีมติคงดอกเบี้ยนโยบายอย่างไม่เป็นเอกฉันท์ที่ 4 ต่... อ่านต่อ
22 กันยายน 2564
นับจากเดือนสิงหาคมที่ผ่านมา หนึ่งในประเด็นติดตามสำคัญคงหนีไม่พ้นทิศทางผลตอบแทนตราสารหนี้ไทยที่กลับมาไต่ระดับเพิ่มขึ้นชัดเจน แม้ว่า ธปท.ยังคงอัตราดอกเบี้ยนโยบายในระดับต่ำทั้งในปีนี้และคงจะรวมถึงปีหน้า ท่ามกลางความไม่แน่นอนของการฟื้นตัวทางเศรษฐกิจที่ยังมีอยู่ ทั้งนี้ การเพิ่มขึ้นของผลตอบแทนตราสารหนี้ไ... อ่านต่อ
17 กันยายน 2564
เงินบาทอ่อนค่าผ่านแนว 33.00 มาแตะระดับอ่อนค่าสุดในรอบกว่า 3 สัปดาห์ที่ 33.26 บาทต่อดอลลาร์ฯ สอดคล้องกับแรงขายสุทธิพันธบัตรไทยของนักลงทุนต่างชาติ (ภาพรวมทั้งสัปดาห์ขายสุทธิทั้งสิ้น 26,800 ล้านบาท) ขณะที่เงินดอลลาร์ฯ มีแรงหนุนจากการปรับตัวขึ้นของบอนด์ยีลด์สหรัฐฯ หลังจากข้อมูลยอดค้าปลีก และผลสำรวจภาคกา... อ่านต่อ
10 กันยายน 2564
เงินบาทขยับแข็งค่ากลับมาได้เล็กน้อยในช่วงปลายสัปดาห์ หลังจากปรับตัวในทิศทางอ่อนค่าในระหว่างสัปดาห์ตามจังหวะขายสุทธิหุ้นและพันธบัตรไทยของนักลงทุนต่างชาติ ขณะที่เงินดอลลาร์ฯ ขยับแข็งค่าขึ้นในฐานะสกุลเงินปลอดภัยท่ามกลางความกังวลต่อแนวโน้มเศรษฐกิจโลกที่ได้รับผลกระทบจากการระบาดของโควิด-19 สายพันธุ์เดลต้า... อ่านต่อ
7 กันยายน 2564
ในช่วงที่ผ่านมา คริปโทเคอร์เรนซีให้อัตราผลตอบแทนสูง เมื่อเทียบกับสินทรัพย์อื่น ทำให้เป็นที่ดึงดูดกลุ่มนักลงทุนรายใหม่เข้ามาในตลาดอย่างต่อเนื่อง สำหรับประเทศไทยก็เช่นกัน ได้มีนักลงทุนรายย่อยรายใหม่ๆ เข้ามาในตลาดเพิ่มขึ้น แต่ก็ยังอยู่ในวงจำกัด โดยมักกระจุกตัวอยู่ในกลุ่มคนเมืองที่มีรายได้และเงินออมสูง ... อ่านต่อ
6 กันยายน 2564
สถานการณ์การระบาดของไวรัสโควิด-19 ที่กินระยะเวลาเกือบสองปี สะท้อนภาพหลายอย่างที่ทำให้ฝ่ายต่างๆ ต้องกลับมาขบคิด ทั้งภาพผลกระทบจากเฉพาะเหตุการณ์โควิดเอง รวมถึงภาพปัญหาที่สะสมไว้เดิมในแต่ละหน่วยเศรษฐกิจที่โควิดขยายปัญหาให้ใหญ่ขึ้น ทั้งนี้ หากย้อนกลับมามองธุรกิจธนาคารพาณิชย์ เพื่อใช้เป็นแว่นขยายที่มองย้... อ่านต่อ
3 กันยายน 2564
เงินบาทกลับมาอ่อนค่าในช่วงปลายสัปดาห์ โดยเงินบาทขยับแข็งค่าขึ้นในช่วงต้นถึงกลางสัปดาห์ตามแรงหนุนจากสถานะซื้อสุทธิพันธบัตรและหุ้นไทยของนักลงทุนต่างชาติ ประกอบกับเงินดอลลาร์ฯ ยังคงเผชิญแรงกดดัน หลังจากประธานเฟดส่งสัญญาณไม่รีบขึ้นดอกเบี้ย แม้สถานการณ์เศรษฐกิจสหรัฐฯ ที่ดีขึ้นจะทำให้เฟดพร้อมเริ่มลดวงเงิน... อ่านต่อ
27 สิงหาคม 2564
เงินบาทแตะระดับแข็งค่าสุดในรอบ 6 สัปดาห์ที่ 32.61 บาทต่อดอลลาร์ฯ โดยเงินบาทพลิกกลับมาแข็งค่าขึ้นจากแรงซื้อตามปัจจัยทางเทคนิค และการปรับโพสิชันของตลาดในระหว่างที่รอสุนทรพจน์ของประธานเฟดจากที่ประชุมเฟดประจำปีที่แจ๊กสัน โฮล เพื่อประเมินสัญญาณเกี่ยวกับการชะลอมาตรการ QE นอกจากนี้เงินบาทยังได้รับอานิสงส์บ... อ่านต่อ
23 สิงหาคม 2564
เงินบาทปรับตัวในกรอบแคบๆ โดยเงินบาทอ่อนค่าลงในช่วงต้นสัปดาห์ท่ามกลางความกังวลเกี่ยวกับแนวโน้มเศรษฐกิจไทยซึ่งยังคงได้รับผลกระทบจากสถานการณ์ที่ยืดเยื้อของการระบาดของโรคโควิด-19 อย่างไรก็ดี เงินบาทดีดตัวแข็งค่ากลับมาช่วงสั้นๆ ในเวลาต่อมาตามการปรับโพสิชันในระหว่างที่รอบันทึกการประชุมเฟด เงินบาทกลับมามีท... อ่านต่อ
13 สิงหาคม 2564
เงินบาทยังมีทิศทางอ่อนค่า หลังแตะระดับอ่อนค่าสุดในรอบ 3 ปีที่ 33.49 บาทต่อดอลลาร์ฯ ระหว่างสัปดาห์ โดยเงินบาทอ่อนค่าลงในช่วงต้นสัปดาห์ท่ามกลางความกังวลต่อการระบาดของโควิดในประเทศ ประกอบกับเงินดอลลาร์ฯ มีแรงหนุนจากถ้อยแถลงของเจ้าหน้าที่เฟดที่ระบุถึงความเป็นไปได้ที่จะมีการทยอยปรับลดวงเงินการทำ QE ต่อเ... อ่านต่อ
6 สิงหาคม 2564
ในอีกไม่กี่วันข้างหน้าหรือ 11 สิงหาคม 2564 วงเงินฝากซึ่งจะได้รับความคุ้มครองตามกฎหมายคุ้มครองเงินฝากจะลดลงมาอยู่ที่ 1 ล้านบาทต่อบัญชีต่อรายสถาบันการเงิน ซึ่งในกรณีของไทยนั้น เป็นการนับถอยหลังกระบวนการทยอยลดการคุ้มครองเงินฝากตามลักษณะจำนวน (Blanket Guarantee) ที่ใช้ระยะเวลาประมาณ 1 ทศวรรษ (ตั้งแต่ 1... อ่านต่อ
เงินบาทแตะระดับอ่อนค่าสุดในรอบเกือบ 3 ปีที่ 33.39 บาทต่อดอลลาร์ฯ โดยเงินบาทเผชิญแรงกดดันด้านอ่อนค่าท่ามกลางสัญญาณเสี่ยงที่เพิ่มสูงขึ้นจากสถานการณ์การระบาดโควิด-19 ในประเทศ ที่มีผลกระทบต่อเนื่องไปยังแนวโน้มเศรษฐกิจไทยในปีนี้และปีหน้า นอกจากนี้เงินดอลลาร์ฯ ยังมีแรงหนุนเพิ่มเติมจากตัวเลขจำนวนผู้ขอรับสว... อ่านต่อ
2 สิงหาคม 2564
เงินบาทแตะระดับอ่อนค่าสุดในรอบ 15 เดือนครึ่งที่ 32.99 บาทต่อดอลลาร์ฯ ก่อนฟื้นตัวกลับมาได้บางส่วนช่วงปลายสัปดาห์ โดยเงินบาทอ่อนค่าลงท่ามกลางความกังวลต่อการเร่งตัวขึ้นของจำนวนผู้ติดเชื้อโควิด-19 ในประเทศที่สร้างแรงกดดันต่อความสามารถในการรองรับสถานการณ์ของระบบสาธารณสุขไทย นอกจากนี้เงินบาทยังเผชิญแรงขาย... อ่านต่อ
30 กรกฎาคม 2564
ศูนย์วิจัยกสิกรไทยประเมินว่า ในการประชุมคณะกรรมการนโยบายการเงิน (กนง.) ในวันที่ 4 ส.ค. นี้ กนง. จะพิจารณาคงอัตราดอกเบี้ยนโยบายที่ 0.50% เพื่อสนับสนุนการฟื้นตัวของเศรษฐกิจท่ามกลางปัจจัยเสี่ยงที่เพิ่มสูงขึ้นจากการแพร่ระบาดของโควิด-19... อ่านต่อ
27 กรกฎาคม 2564
เงินบาทอ่อนค่าสุดในรอบกว่า 15 เดือนครั้งใหม่ที่ 32.94 บาทต่อดอลลาร์ฯ โดยเงินบาทเผชิญแรงขายอย่างต่อเนื่อง หลังข้อมูลยอดผู้ติดเชื้อโควิด 19 ในประเทศยังคงเพิ่มสูงขึ้นและอยู่ในระดับที่สูงกว่าหมื่นรายต่อวันอย่างต่อเนื่อง ซึ่งเป็นสัญญาณที่ตอกย้ำความกังวลเกี่ยวกับความเสี่ยงจากวิกฤตโควิด 19 ที่กำลังมีผลกระท... อ่านต่อ
ข้อมูลจากธ.พ. 1.1 สะท้อนว่า ภาพรวมเงินให้สินเชื่อและดอกเบี้ยค้างรับสุทธิของธนาคารพาณิชย์จดทะเบียนในประเทศ 19 แห่ง (ธ.พ.ไทย) ณ สิ้นเดือน มิ.ย. 2564 ขยับขึ้นจากเดือนก่อนหน้าประมาณ 7.84 หมื่นล้านบาท ซึ่งทำให้ศูนย์วิจัยกสิกรไทยประเมินว่า อัตราการเติบโตของสินเชื่อระบบธ.พ.ไทยน่าจะปิดสิ้นไตรมาส 2/2564 ที่... อ่านต่อ
16 กรกฎาคม 2564
ศูนย์วิจัยกสิกรไทยคาดว่า กำไรสุทธิของระบบธนาคารพาณิชย์จดทะเบียนในประเทศ หรือระบบ ธ.พ.ไทยในไตรมาส 2/2564 อาจสูงขึ้นเมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันปีก่อนซึ่งถูกกระทบจากโควิดรอบแรก ... อ่านต่อ
เงินบาทแตะระดับอ่อนค่าสุดในรอบ 15 เดือน ที่ 32.80 บาทต่อดอลลาร์ฯ ช่วงปลายสัปดาห์ โดยเงินบาททรงตัวในกรอบแคบในช่วงแรก ขณะที่เงินดอลลาร์ฯ เผชิญแรงกดดัน หลังประธานเฟดส่งสัญญาณไม่รีบคุมเข้มนโยบายการเงิน แม้ว่าเงินเฟ้อสหรัฐฯ จะขยับสูงขึ้น อย่างไรก็ดีเงินบาทเคลื่อนไหวในกรอบที่อ่อนค่าลงในช่วงที่เหลือของสัปด... อ่านต่อ
9 กรกฎาคม 2564
เงินบาทอ่อนค่าลงอย่างรวดเร็วท่ามกลางสัญญาณความเสี่ยงที่ชัดเจนมากขึ้นจากสถานการณ์การระบาดของโควิด 19 ระลอกที่สามที่มีแนวโน้มควบคุมได้ยาก เพราะต้องรับมือกับโควิด 19 ที่เป็นเชื้อกลายพันธุ์ โดยเงินบาททำสถิติอ่อนค่าสุดในรอบเกือบ 15 เดือนที่ 32.73 บาทต่อดอลลาร์ฯ (ระหว่างชั่วโมงการซื้อ-ขายในวันที่ 9 ก.ค. 2... อ่านต่อ
เงินบาทเผชิญแรงขายอย่างหนัก โดยเงินบาทแตะระดับอ่อนค่าสุดในรอบเกือบ 15 เดือนที่ 32.73 บาทต่อดอลลาร์ฯ ท่ามกลางความกังวลต่อสถานการณ์โควิดในประเทศที่จำนวนผู้ติดเชื้อเพิ่มสูงขึ้นอย่างรวดเร็ว ซึ่งนอกจากจะทำให้ทางการไทยต้องยกระดับมาตรการควบคุมสถานการณ์และจำกัดการแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสแล้ว ความเสี่ยงจากโควิ... อ่านต่อ
2 กรกฎาคม 2564
ข้อมูลเงินให้กู้ยืมแก่ภาคครัวเรือนล่าสุดในไตรมาส 1/2564 สะท้อนสถานการณ์หนี้สินของประชาชนที่ยังคงมีอัตราการเติบโตเร็วกว่าเศรษฐกิจไทยในภาพรวม โดยยอดคงค้างหนี้ครัวเรือนไทยในไตรมาส 1/2564 ขยับขึ้นมาอยู่ที่ 14.13 ล้านล้านบาท คิดเป็นสัดส่วนประมาณ 90.5% ต่อจีดีพี สูงสุดในรอบ 18 ปีตามสถิติที่มีการเก็บรวบรวม... อ่านต่อ
เงินบาทแตะระดับอ่อนค่าสุดในรอบ 13 เดือนที่ระดับ 31.98 บาทต่อดอลลาร์ฯ ก่อนฟื้นตัวกลับมาได้บางส่วนปลายสัปดาห์ โดยเงินบาททยอยอ่อนค่าลง ขณะที่เงินดอลลาร์ฯ ได้รับแรงหนุนเป็นระยะจากถ้อยแถลงของเจ้าหน้าที่เฟดที่สะท้อนความเป็นไปได้ว่าสัญญาณคุมเข้มนโยบายการเงินของสหรัฐฯ อาจมาเร็วกว่าที่คาด นอกจากนี้เงินบาทยัง... อ่านต่อ
21 มิถุนายน 2564
ศูนย์วิจัยกสิกรไทยประเมินว่า ในการประชุมคณะกรรมการนโยบายการเงิน (กนง.) ในวันที่ 23 มิ.ย. นี้ กนง. จะพิจารณาคงอัตราดอกเบี้ยนโยบายที่ 0.50% เพื่อสนับสนุนการฟื้นตัวของเศรษฐกิจขณะที่แรงกดดันจากเงินเฟ้อยังคงมีจำกัด เศรษฐกิจไทยยังคงเผชิญความเสี่ยงอย่างมากจากการแพร่ระบาดโควิด-19 ที่ยังมีจำนวนผู้ติดเชื้อยัง... อ่านต่อ
14 มิถุนายน 2564
เงินบาทเคลื่อนไหวในกรอบที่แข็งค่าขึ้นเมื่อเทียบกับเงินดอลลาร์ฯ โดยเงินบาทได้รับแรงหนุนจากสถานะซื้อสุทธิหุ้นและพันธบัตรไทยของนักลงทุนต่างชาติ ประกอบกับมีปัจจัยบวกตั้งแต่ในช่วงต้นสัปดาห์จากข่าวการปูพรมเร่งฉีดวัคซีนทั่วประเทศ ขณะที่เงินดอลลาร์ฯ ทยอยอ่อนค่าลงตามทิศทางอัตราผลตอบแทนพันธบัตรรัฐบาลสหรัฐฯ โด... อ่านต่อ
7 มิถุนายน 2564
เงินบาททยอยอ่อนค่าในช่วงปลายสัปดาห์ โดยเงินบาทขยับแข็งค่าขึ้นในช่วงต้นสัปดาห์ตามทิศทางสกุลเงินส่วนใหญ่ในภูมิภาค ประกอบกับมีแรงหนุนเพิ่มเติมจากสัญญาณซื้อสุทธิหุ้นและพันธบัตรไทยของนักลงทุนต่างชาติ อย่างไรก็ดีเงินบาทลดช่วงบวกลง และทยอยอ่อนค่ากลับมาในช่วงที่เหลือของสัปดาห์ ขณะที่ข้อมูลเศรษฐกิจที่แข็งแกร... อ่านต่อ
28 พฤษภาคม 2564
เงินบาทแข็งค่าขึ้นเล็กน้อย โดยเงินบาทขยับแข็งค่าขึ้นตามทิศทางค่าเงินหยวนและสกุลเงินส่วนใหญ่ในภูมิภาค ประกอบกับมีแรงหนุนเพิ่มเติมจากสถานะซื้อสุทธิพันธบัตรไทยของนักลงทุนต่างชาติ และข้อมูลการส่งออกเดือนเม.ย. ของไทยที่เติบโตดีกว่าตัวเลขคาดการณ์ของตลาด นอกจากนี้เงินดอลลาร์ฯ ยังเผชิญแรงกดดันระหว่างสัปดาห์... อ่านต่อ
25 พฤษภาคม 2564
แม้สถานการณ์การระบาดของไวรัสโควิด 19 จะยังคงยืดเยื้อ และส่งผลทำให้การฟื้นตัวทางเศรษฐกิจต้องล่าช้าออกไป แต่เมื่อดูในมิติของปัจจัยที่กระทบสภาพคล่องในระบบการเงินไทยปีนี้ กลับมีมากขึ้น ทั้งจากการระดมทุนของภาครัฐที่ยังมีความจำเป็นต้องเพิ่มการใช้จ่ายเพื่อประคองเศรษฐกิจ การระดมทุนภาคเอกชนทั้งที่ผ่านการออกห... อ่านต่อ
21 พฤษภาคม 2564
เงินบาทปรับตัวในกรอบแคบๆ โดยเงินบาทอ่อนค่าลงเล็กน้อยในช่วงต้นสัปดาห์ท่ามกลางความกังวลต่อสถานการณ์การแพร่ระบาดของโควิด 19 ในประเทศ ซึ่งมีผลกระทบต่อแนวโน้มเศรษฐกิจไทยในระยะที่เหลือของปี ขณะที่เงินดอลลาร์ฯ ขยับแข็งค่าขึ้น หลังบันทึกการประชุมเฟดระบุว่า คณะกรรมการเฟดมีการหารือเกี่ยวกับความเสี่ยงด้านเงินเ... อ่านต่อ
14 พฤษภาคม 2564
เงินบาทอ่อนค่าลง หลังขยับแข็งค่าขึ้นช่วงสั้นๆ ต้นสัปดาห์รับข่าวตัวเลขการจ้างงานนอกภาคเกษตรของสหรัฐฯ ที่เพิ่มน้อยกว่าที่ตลาดคาด ทั้งนี้เงินบาทพลิกกลับมาอ่อนค่าลงตั้งแต่ในช่วงกลางสัปดาห์ สวนทางเงินดอลลาร์ฯ ที่ฟื้นตัวขึ้นตามทิศทางบอนด์ยีลด์สหรัฐฯ หลังข้อมูลเงินเฟ้อ (CPI) สหรัฐฯ เร่งตัวขึ้นมากกว่าที่คาด... อ่านต่อ
7 พฤษภาคม 2564
การแพร่ระบาดของโควิด-19 เป็นแรงหนุนสำคัญที่ทำให้การทำธุรกรรมผ่าน Mobile Banking และ e-Wallet มีการเร่งการเติบโตสูงขึ้น สะท้อนจากผลสำรวจของศูนย์วิจัยกสิกรไทย ที่พบว่า ผู้บริโภคไทยโดยภาพรวมมีการโอนเงินและชำระค่าสินค้าและบริการผ่าน Mobile banking และ e-Wallet อยู่ที่ 19 ครั้งต่อสัปดาห์ ซึ่งเพิ่มมากกว่า... อ่านต่อ
เงินบาทเคลื่อนไหวในกรอบจำกัด โดยหลังจากที่เงินบาทขยับแข็งค่าขึ้นเล็กน้อยในช่วงกลางสัปดาห์ตามการปรับโพสิชันหลังตลาดในประเทศกลับมาเปิดทำการ เงินบาทก็ขยับอ่อนค่าลงในช่วงต่อมาท่ามกลางความวิตกกังวลเกี่ยวกับผลกระทบทางเศรษฐกิจจากการระบาดของโควิด 19 รอบสามในประเทศ อย่างไรก็ดีเงินบาทพลิกกลับมาแข็งค่าขึ้นอีกค... อ่านต่อ
30 เมษายน 2564
ธุรกิจบัตรเครดิตเป็นอีกหนึ่งธุรกิจที่ได้รับผลกระทบจากโควิด 19 เนื่องจากบัตรเครดิตมีสถานะเป็นเครื่องมือในการชำระค่าบริการและสินค้าแทนเงินสด ดังนั้นเมื่อกิจกรรมทางเศรษฐกิจมีทิศทางชะลอตัวจึงส่งผลทำให้ยอดการใช้จ่ายผ่านบัตรและสินเชื่อบัตรเครดิตปรับตัวลดลงตาม ... อ่านต่อ
ศูนย์วิจัยกสิกรไทยประเมินว่า ในการประชุมคณะกรรมการนโยบายการเงิน (กนง.) ในวันที่ 5 พ.ค. นี้ กนง. จะพิจารณาคงอัตราดอกเบี้ยนโยบายที่ 0.50% เพื่อสนับสนุนการฟื้นตัวของเศรษฐกิจท่ามกลางความไม่แน่นอนสูง สถานการณ์การแพร่ระบาดโควิด-19 ระลอกใหม่ยังคงรุนแรง โดยจำนวนผู้ติดเชื้อยังคงเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องมากกว่า... อ่านต่อ
เงินบาทแตะระดับแข็งค่าสุดในรอบ 1 เดือน ที่ 31.135 บาทต่อดอลลาร์ฯ หลังแข็งค่าผ่านแนว 31.20 บาทต่อดอลลาร์ฯ ได้ในช่วงปลายสัปดาห์ โดยเงินบาททยอยแข็งค่าขึ้นตามสถานะซื้อสุทธิพันธบัตรไทยของนักลงทุนต่างชาติ ขณะที่เงินดอลลาร์ฯ เผชิญแรงขาย หลังผลการประชุมธนาคารกลางสหรัฐฯ (เฟด) สะท้อนว่า เฟดจะยังคงมาตรการผ่อนค... อ่านต่อ
23 เมษายน 2564
เงินบาทแตะระดับอ่อนค่าสุดในรอบ 1 สัปดาห์ที่ 31.44 บาทต่อดอลลาร์ฯ ท่ามกลางความกังวลเกี่ยวกับความเสี่ยงของสถานการณ์การระบาดของโควิด 19 ในประเทศระลอกสาม ซึ่งมีจำนวนผู้ติดเชื้อเร่งตัวสูงขึ้น ขณะที่เงินดอลลาร์ฯ ได้รับแรงหนุนเพิ่มเติมในช่วงท้ายๆ สัปดาห์ในฐานะสกุลเงินปลอดภัยท่ามกลางความกังวลต่อข้อเสนอแผนกา... อ่านต่อ
22 เมษายน 2564
ศูนย์วิจัยกสิกรไทย รวบรวมข้อมูลสำคัญทางการเงินจากรายงานงบการเงินรวมของธนาคารพาณิชย์และบริษัทย่อย 9 แห่ง (งบการเงินรวมฯ) ประจำไตรมาสที่ 1/2564 โดยข้อมูลที่ออกมาล่าสุดสะท้อนว่า ธนาคารพาณิชย์และบริษัทย่อยบันทึกกำไรสุทธิ 46,071 ล้านบาท เพิ่มขึ้น 47.4% QoQ เมื่อเทียบกับไตรมาส 4/2563 ที่มีกำไรสุทธิ 31,25... อ่านต่อ
16 เมษายน 2564
เงินบาทกลับมาแข็งค่าขึ้นช่วงปลายสัปดาห์ หลังแตะระดับอ่อนค่าสุดในรอบ 6 เดือนที่ 31.57 บาทต่อดอลลาร์ฯ ในช่วงแรก ท่ามกลางความกังวลเกี่ยวกับความเสี่ยงของสถานการณ์การระบาดของโควิด 19 ในประเทศระลอกสาม ซึ่งยากต่อการควบคุมและอาจส่งผลกระทบต่อเส้นทางการฟื้นตัวของเศรษฐกิจไทยในระยะที่เหลือของปี อย่างไรก็ดี เงิน... อ่านต่อ
12 เมษายน 2564
ศูนย์วิจัยกสิกรไทยคาดว่า กำไรสุทธิของระบบธนาคารพาณิชย์จดทะเบียนในประเทศ (ระบบธ.พ. ไทย) อาจขยับขึ้นในไตรมาส 1/2564 โดยแม้รายได้จากธุรกิจหลักของธ.พ. ไทยจะยังไม่ฟื้นตัวกลับมา เนื่องจากกิจกรรมทางเศรษฐกิจในหลายๆ ส่วนของไทยยังคงได้รับผลกระทบจากสถานการณ์การระบาดของโควิด 19 แต่ระดับกำไรสุทธิในไตรมาส 1/2564... อ่านต่อ
9 เมษายน 2564
เงินบาทอ่อนค่าสุดในรอบ 6 เดือน โดยเงินบาทอ่อนค่าลงสอดคล้องกับสกุลเงินเอเชียส่วนใหญ่ในช่วงต้นสัปดาห์ ขณะที่เงินดอลลาร์ฯ ได้รับอานิสงส์จากข้อมูลการจ้างงานนอกภาคเกษตรกรรมเดือนมี.ค. ของสหรัฐฯ ที่เพิ่มขึ้นมากกว่าตัวเลขคาดการณ์ของตลาด ซึ่งหนุนความหวังต่อแนวโน้มการฟื้นตัวทางเศรษฐกิจของสหรัฐฯ นอกจากนี้เงินบ... อ่านต่อ
2 เมษายน 2564
เงินบาทแตะระดับอ่อนค่าสุดในรอบกว่า 5 เดือนครึ่งที่ 31.40 บาทต่อดอลลาร์ฯ โดยเงินบาทอ่อนค่าลง สวนทางเงินดอลลาร์ฯ ที่ได้รับแรงหนุนในฐานะสกุลเงินปลอดภัยท่ามกลางความกังวลเกี่ยวกับข่าวการผิดนัดชำระการเพิ่มเงินประกันของเฮดจ์ฟันด์รายหนึ่งในสหรัฐฯ ในช่วงต้นสัปดาห์ นอกจากนี้เงินดอลลาร์ฯ ยังมีปัจจัยบวกจากแนวโ... อ่านต่อ
1 เมษายน 2564
ข้อมูลเงินให้กู้ยืมแก่ภาคครัวเรือนล่าสุดในไตรมาส 4/2563 บ่งชี้ว่า หนี้ครัวเรือนของไทยปิดสิ้นปี 2563 ที่ผ่านมา ด้วยภาพของระดับหนี้ครัวเรือนที่ทะลุ 14 ล้านล้านบาท ซึ่งนับเป็นจุดสูงสุดใหม่ในรอบ 18 ปีตามสถิติที่มีการเก็บรวบรวมของธนาคารแห่งประเทศไทย (ธปท.) โดยหนี้ครัวเรือนดังกล่าวคิดเป็นสัดส่วน 89.3% เมื... อ่านต่อ
ปัจจุบัน กระแสของ Digital-Only Bank หรือ Digital Bank กำลังมาแรง โดยธนาคารกลางของหลายประเทศในเอเชียทยอยให้ใบอนุญาตประกอบกิจการ Digital Bank ในประเทศ ท่ามกลางความคาดหวังว่าจะเพิ่มการแข่งขัน และยกระดับการเข้าถึงบริการทางการเงินให้กับผู้บริโภค... อ่านต่อ
26 มีนาคม 2564
เงินบาทอ่อนค่าลงสอดคล้องกับสกุลเงินอื่นๆ ในภูมิภาค แต่สวนทางเงินดอลลาร์ฯ ที่ได้รับแรงหนุนจากถ้อยแถลงที่สะท้อนความเชื่อมั่นต่อแนวโน้มเศรษฐกิจสหรัฐฯ ของประธานเฟดและรมว.คลังสหรัฐฯ และจากข้อมูลผู้ขอรับสวัสดิการว่างงานรายสัปดาห์ของสหรัฐฯ ที่ออกมาดีกว่าตัวเลขคาดการณ์ของตลาด นอกจากนี้เงินบาทยังถูกกดดันเพิ... อ่านต่อ
25 มีนาคม 2564
สินเชื่อนาโนไฟแนนซ์ หรือสินเชื่อรายย่อยเพื่อการประกอบอาชีพภายใต้การกำกับ ซึ่งมีกลุ่มเป้าหมายเป็นบุคคลธรรมดาที่อาจไม่มีรายได้ประจำ ไม่เคยเดินบัญชีกับธนาคาร และไม่มีหลักประกัน ประสบภาวะถดถอยติดต่อกันในปี 2562-2563 โดยมีปัจจัยหลักจากผู้ประกอบการรายใหญ่ยุติการให้สินเชื่อใหม่เนื่องจากต้นทุนการดำเนินงานที... อ่านต่อ
23 มีนาคม 2564
ศูนย์วิจัยกสิกรไทยประเมินว่า ในการประชุมคณะกรรมการนโยบายการเงิน (กนง.) ในวันที่ 24 มีนาคมนี้ กนง. จะพิจารณาคงอัตราดอกเบี้ยนโยบายที่ 0.50% หลังภาครัฐมีมาตรการกระตุ้นเศรษฐกิจเพื่อดูแลผลกระทบจากโควิดระลอกใหม่อย่างต่อเนื่อง ทั้งนี้ เศรษฐกิจไทยมีแนวโน้มที่จะฟื้นตัวดีขึ้นหลังจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโคว... อ่านต่อ
มาตรการสินเชื่อพิเศษหรือสินเชื่อฟื้นฟูใหม่ และโครงการพักทรัพย์พักหนี้...ช่วยเพิ่มทางเลือกให้กับผู้ประกอบการที่ได้รับผลกระทบจากโควิด ขณะเดียวกันก็ช่วยบรรเทาภาระสถาบันการเงินจากการตั้งสำรองฯ เมื่อเทียบกับกรณีที่ไม่มีมาตรการซึ่งภาวะเศรษฐกิจที่ยังไม่แน่นอน อาจนำมาสู่ปัญหาหนี้เสียที่เพิ่มขึ้น... อ่านต่อ
19 มีนาคม 2564
เงินบาทแตะระดับอ่อนค่าสุดในรอบกว่า 4 เดือนที่ 30.99 บาทต่อดอลลาร์ฯ ขณะที่เงินดอลลาร์ฯ ขยับแข็งค่าขึ้นทั้งเมื่อเทียบกับสกุลเงินหลักและสกุลเงินอื่นๆ ในเอเชีย ท่ามกลางอานิสงส์จากการปรับตัวขึ้นของอัตราผลตอบแทนพันธบัตรรัฐบาลสหรัฐฯ โดยบอนด์ยีลด์อายุ 10 ปีของสหรัฐฯ กลับมาทำสถิติสูงสุดในรอบ 14 เดือนที่ 1.75... อ่านต่อ
17 มีนาคม 2564
อัตราผลตอบแทนพันธบัตรรัฐบาลไทย (บอนด์ยีลด์ไทย) ทยอยปรับตัวสูงขึ้นนับตั้งแต่ต้นปี 2564 ตามทิศทางบอนด์ยีลด์สหรัฐฯ โดยในส่วนของบอนด์ยีลด์ไทยอายุ 10 ปีปรับสูงขึ้นแตะจุดสูงสุดของปีนี้ที่ 2.05% ซึ่งเป็นระดับสูงที่สุดนับตั้งแต่เดือนกรกฎาคม 2562 (สูงสุดในรอบ 2 ปี 8 เดือน) ขณะที่ศูนย์วิจัยกสิกรไทยประเมินว่า ... อ่านต่อ
12 มีนาคม 2564
เงินบาทขยับอ่อนค่า แตะระดับอ่อนค่าสุดในรอบ 4 เดือนที่ 30.95 บาทต่อดอลลาร์ฯ ในช่วงต้นสัปดาห์ ขณะที่เงินดอลลาร์ฯ ได้รับอานิสงส์จากการปรับตัวขึ้นของอัตราผลตอบแทนพันธบัตรรัฐบาลสหรัฐฯ (บอนด์ยีลด์) ซึ่งมีแรงหนุนมาจากมาตรการกระตุ้นเศรษฐกิจสหรัฐฯ อย่างไรก็ดีเงินบาทฟื้นตัวกลับมาได้บางส่วนตามจังหวะการย่อตัวลง... อ่านต่อ
5 มีนาคม 2564
เงินบาทแตะระดับอ่อนค่าสุดในรอบเกือบ 4 เดือนที่ 30.51 บาทต่อดอลลาร์ฯ โดยเงินบาททยอยอ่อนค่าลงสอดคล้องกับทิศทางของสกุลเงินเอเชียอื่นๆ ในภูมิภาค ขณะที่เงินดอลลาร์ฯ ขยับแข็งค่าขึ้นตามทิศทางของอัตราผลตอบแทนพันธบัตรรัฐบาลสหรัฐฯ (บอนด์ยีลด์) ซึ่งได้อานิสงส์หลักๆ หลังประธานเฟดไม่ส่งสัญญาณว่าจะมีเครื่องมือเพิ... อ่านต่อ
25 กุมภาพันธ์ 2564
เงินบาทขยับกลับมายืนในฝั่งอ่อนค่ากว่าแนว 30.00 บาทต่อดอลลาร์ฯ โดยเงินบาทอ่อนค่าลงในช่วงต้นสัปดาห์สอดคล้องกับสถานะขายสุทธิของนักลงทุนต่างชาติในตลาดหุ้นและพันธบัตรไทย ขณะที่เงินดอลลาร์ฯ แข็งค่าขึ้นตามการปรับตัวขึ้นของอัตราผลตอบแทนพันธบัตรรัฐบาลสหรัฐฯ ท่ามกลางความหวังต่อการฟื้นตัวของเศรษฐกิจ อย่างไรก็... อ่านต่อ
22 กุมภาพันธ์ 2564
เงินบาทขยับอ่อนค่า แต่ฟื้นตัวได้บางส่วนปลายสัปดาห์ โดยเงินบาทเคลื่อนไหวในกรอบแคบๆ ในช่วงแรก ก่อนจะเริ่มอ่อนค่าลงในช่วงกลางสัปดาห์ หลังจากที่เงินดอลลาร์ฯ แข็งค่าขึ้นตามการปรับตัวขึ้นของอัตราผลตอบแทนพันธบัตรรัฐบาลสหรัฐฯ ท่ามกลางสัญญาณการฟื้นตัวของเศรษฐกิจสหรัฐฯ อย่างไรก็ดี เงินบาทลดช่วงอ่อนค่าลงได้บาง... อ่านต่อ
11 กุมภาพันธ์ 2564
มาตรการผ่อนคลายเชิงปริมาณ (QE) เป็นเครื่องมือนโยบายการเงินแบบพิเศษ ซึ่งธนาคารกลางหลายประเทศที่เป็นแกนหลักของโลกและบางประเทศในเอเชียนำมาใช้เพื่อช่วยรับมือกับปัญหาเศรษฐกิจ หลังจากที่มีการปรับลดอัตราดอกเบี้ยนโยบายลงมาอยู่ใกล้ระดับ 0% แล้ว โดยรูปแบบและขนาดของการเข้าซื้อสินทรัพย์ทางการเงินภายใต้มาตรการ Q... อ่านต่อ
เงินบาททยอยแข็งค่าเมื่อเทียบกับเงินดอลลาร์ฯ สอดคล้องกับทิศทางของหลายสกุลเงินในเอเชียและแรงซื้อสินทรัพย์เสี่ยงโดยมีแรงหนุนจากความหวังต่อมาตรการกระตุ้นเศรษฐกิจของสหรัฐฯ นอกจากนี้เงินดอลลาร์ฯ ยังมีแรงกดดันเพิ่มเติมจากสัญญาณผ่อนคลายทางการเงินอย่างต่อเนื่องของประธานเฟด ขณะที่การปรับตัวลงของอัตราผลตอบแทนพ... อ่านต่อ
5 กุมภาพันธ์ 2564
เงินบาทขยับอ่อนค่าเล็กน้อย โดยเงินบาทเคลื่อนไหวในกรอบแคบๆ ในช่วงต้น-กลางสัปดาห์ ขณะที่มติของกนง. ซึ่งคงอัตราดอกเบี้ยไว้ที่ 0.50% มีผลต่อเงินบาทในกรอบจำกัด เนื่องจากเป็นไปตามที่ตลาดคาดการณ์ไว้ อย่างไรก็ดีเงินบาททยอยอ่อนค่าในช่วงปลายสัปดาห์สอดคล้องกับสกุลเงินอื่นๆ ในเอเชีย ขณะที่เงินดอลลาร์ฯ ได้รับแรง... อ่านต่อ