Display mode (Doesn't show in master page preview)

บทวิเคราะห์ตลาดการเงินและสถาบันการเงิน

21 กุมภาพันธ์ 2566

สถาบันการเงิน

ภาพรวมหนี้ครัวเรือนปี 2566 อาจชะลอลงมาที่กรอบ 84.0-86.5% ต่อจีดีพี...แต่ครัวเรือนยังมีภาระหนี้ที่ค่อนข้างสูงเป็นข้อจำกัดการเติบโตของการบริโภคในอนาคต (กระแสทรรศน์ ฉบับที่ 3383)

ศูนย์วิจัยกสิกรไทยทำการศึกษาผลกระทบจากการเพิ่มขึ้นของหนี้ครัวเรือนในบริบทของประเทศไทย พบข้อสรุปที่สอดคล้องกับการศึกษาของ BIS กล่าวคือ การเพิ่มขึ้นของหนี้ครัวเรือนส่งผลกระทบเชิงบวกต่อการบริโภคในระยะสั้น แต่จะลดศักยภาพการเติบโตของการบริโภคของครัวเรือนในระยะยาว ซึ่งหมายความว่า สัดส่วนหนี้ครัวเรือนไทยต่... อ่านต่อ

30 มกราคม 2566

ตลาดการเงิน

เงินบาทเคลื่อนไหวกรอบแคบ ก่อนอ่อนค่าปลายสัปดาห์ ขณะที่หุ้นไทยขยับขึ้นจากสัปดาห์ก่อน

เงินบาทเคลื่อนไหวกรอบแคบ ก่อนอ่อนค่าปลายสัปดาห์ ขณะที่หุ้นไทยขยับขึ้นจากสัปดาห์ก่อน... อ่านต่อ

24 มกราคม 2566

สถาบันการเงิน

การประชุม กนง. นัดแรกของปี วันที่ 25 ม.ค. 66 คาด กนง. ปรับขึ้นดอกเบี้ยนโยบายต่อเนื่องจากปีก่อนอีกร้อยละ 0.25 (มองเศรษฐกิจ ฉบับที่ 3988)

คาดกนง. ปรับขึ้นดอกเบี้ยนโยบายต่อเนื่องจากปีก่อนอีกร้อยละ 0.25 มาอยู่ที่ระดับ 1.50% ท่ามกลางแรงกดดันด้านเงินเฟ้อที่ยังอยู่ในระดับสูง ขณะที่เศรษฐกิจไทยมีแนวโน้มฟื้นตัวดีขึ้นต่อเนื่อง... อ่านต่อ

30 ธันวาคม 2565

สถาบันการเงิน

ปริมาณธุรกรรมชำระเงินออนไลน์เติบโตต่อเนื่อง... ขณะที่การต่อยอดธุรกิจของผู้ให้บริการยังเป็นโจทย์สำคัญ (กระแสทรรศน์ ฉบับที่ 3378)

ศูนย์วิจัยกสิกรไทย มองว่า แนวโน้มการชำระเงินผ่านช่องทางออนไลน์ของผู้บริโภคไทยยังคงขยายตัวต่อเนื่อง และคาดว่า ในปี 2566 ปริมาณธุรกรรมผ่านช่องทางออนไลน์อย่างInternet Banking, Mobile Banking, และ e-Money น่าจะมีสัดส่วนแตะร้อยละ 95 ของปริมาณธุรกรรมทั้งหมด โดยมีปริมาณธุรกรรม 36,510 – 37,970 ล้านรายการ หร... อ่านต่อ

21 ธันวาคม 2565

สถาบันการเงิน

แนวโน้มแบงก์ไทยปี’66... เตรียมตัวรับภาพธุรกิจที่ไม่เหมือนเดิม (กระแสทรรศน์ ฉบับที่ 3373)

หลังจากที่แบงก์ไทยดำเนินธุรกิจผ่านปี 2565 โดยผ่านคลื่นลมของความท้าทายมาหลากหลายเรื่อง ไม่ว่าจะเป็นการแก้ปัญหาหนี้สำหรับลูกหนี้ที่ประสบปัญหาทางการเงินตั้งแต่ช่วงวิกฤตโควิด-19 การปรับเกณฑ์ต่างๆ ของทางการจากที่เน้นมาตรการแบบปูพรมและช่วยเหลือสถาบันการเงินที่ช่วยเหลือลูกหนี้ มาเป็นมาตรการเฉพาะจุด และทยอย... อ่านต่อ

28 พฤศจิกายน 2565

สถาบันการเงิน

การประชุมกนง.วันที่ 30 พ.ย. 65 คาดกนง. ทยอยปรับขึ้นดอกเบี้ยนโยบายอีกร้อยละ 0.25 มาอยู่ที่ระดับ 1.25% ท่ามกลางแรงกดดันด้านเงินเฟ้อที่ยังอยู่ในระดับสูง ขณะที่เศรษฐกิจเริ่มอยู่ในเส้นทางการฟื้นตัว (มองเศรษฐกิจ ฉบับที่ 3982)

ในการประชุมกนง. ที่จะถึงนี้ ซึ่งเป็นการประชุมกนง. ครั้งสุดท้ายของปีนี้ คาดว่ากนง. จะปรับขึ้นดอกเบี้ยนโยบายที่ร้อยละ 0.25 มาอยู่ที่ระดับ 1.25% ท่ามกลางแรงกดดันจากเงินเฟ้อที่ยังอยู่ในระดับสูง ขณะที่เศรษฐกิจไทยมีแนวโน้มฟื้นตัวได้อย่างต่อเนื่อง ... อ่านต่อ

24 พฤศจิกายน 2565

สถาบันการเงิน

ปี 2565...ปีแห่งการทดสอบการลงทุนในสินทรัพย์เสี่ยง (กระแสทรรศน์ ฉบับที่ 3365)

ปี 2565 ถือว่าเป็นปีที่เศรษฐกิจไทยผ่านพ้นจุดต่ำสุดหลังจากได้รับผลกระทบจากไวรัสโควิด-19 ติดต่อกันหลายปี ซึ่งในหลักการแล้ว การฟื้นตัวทางเศรษฐกิจควรจะเป็นปัจจัยหนุนการลงทุนในสินทรัพย์เสี่ยง อย่างไรก็ตาม ในความเป็นจริง บรรยากาศการลงทุนในปีนี้กลับค่อนข้างผันผวน โดยเฉพาะสินทรัพย์ที่มีความเสี่ยงสูงกว่าปกติ... อ่านต่อ

21 พฤศจิกายน 2565

สถาบันการเงิน

การแข่งขันราคาเงินฝาก...ทยอยชัดเจนขึ้น (กระแสทรรศน์ ฉบับที่ 3364)

หลังจากที่คณะกรรมการนโยบายการเงิน (กนง.) เริ่มปรับขึ้นอัตราดอกเบี้ยนโยบาย ตั้งแต่รอบการประชุมเดือนสิงหาคมและกันยายน 2565 ครั้งละ 0.25% รวมเป็น 0.50% จนทำให้ปัจจุบัน อัตราดอกเบี้ยนโยบายของไทยยืนอยู่ที่ 1.00% นั้น ธนาคารพาณิชย์ขนาดใหญ่ส่วนใหญ่ยังไม่ได้ปรับอัตราดอกเบี้ยตามในทันทีในระยะแรกๆ อย่างไรก็ดี ... อ่านต่อ

16 พฤศจิกายน 2565

สถาบันการเงิน

อัตราการเข้าถึงบริการทางการเงินของไทย แม้ส่วนใหญ่สูงกว่า APEC ... แต่ก็ยังมีโจทย์ที่ต้องไปต่อ (กระแสทรรศน์ ฉบับที่ 3360)

ในการประชุม APEC ในปี 2565 นี้ สะท้อนความพยายามในการผลักดันเศรษฐกิจและสังคมของประเทศสมาชิกไปสู่ทิศทางแห่งความยั่งยืน โดยเติบโตอย่างมีส่วนร่วม (Inclusive Growth) ซึ่งหนึ่งแนวทางผลักดันคือการสนับสนุนให้กลุ่มคนต่างๆ ของสังคมเข้าถึงบริการทางการเงินในระบบ (Financial Inclusion)... อ่านต่อ

11 พฤศจิกายน 2565

สถาบันการเงิน

เงินบาทพลิกแข็งค่า...แต่ยังต้องระวังความผันผวนจากหลายปัจจัยข้างหน้า (กระแสทรรศน์ ฉบับที่ 3358)

สถานการณ์ล่าสุด เงินบาทพลิกแข็งค่าหลุดแนว 36.00 บาทต่อดอลลาร์ฯ ไปแตะระดับแข็งค่าสุดในรอบเกือบ 3 เดือนที่ 35.70 บาทต่อดอลลาร์ฯ (11 พ.ย. 2565) ท่ามกลางแรงขายเงินดอลลาร์ฯ จากการคาดการณ์ว่า เฟดอาจปรับลดขนาดการขึ้นดอกเบี้ยให้มีความแข็งกร้าวน้อยลงในการประชุม FOMC รอบถัดๆ ไป ... อ่านต่อ

17 ตุลาคม 2565

สถาบันการเงิน

คาดเศรษฐกิจที่ทยอยฟื้นหลังการคลายล็อกช่วยประคองรายได้จากธุรกิจหลักของธนาคารพาณิชย์ในไตรมาส 3/2565...แต่ยังต้องติดตามความไม่แน่นอนทางเศรษฐกิจในระยะข้างหน้า (กระแสทรรศน์ ฉบับที่ 3350)

ศูนย์วิจัยกสิกรไทย คาดว่า กิจกรรมทางเศรษฐกิจที่ทยอยฟื้นตัวขึ้นหลังการคลายล็อกดาวน์ จะช่วยหนุนการเติบโตของรายได้หลักของธุรกิจธนาคารพาณิชย์ในไตรมาส 3/2565 ทั้งในส่วนของรายได้ดอกเบี้ยและรายได้ค่าธรรมเนียม ... อ่านต่อ

3 ตุลาคม 2565

สถาบันการเงิน

หนี้ครัวเรือนชะลอลงมาที่ 88.2% ต่อจีดีพี ในไตรมาส 2/2565...ครัวเรือนชะลอการก่อหนี้ก้อนใหญ่ แต่ยังใช้สินเชื่อไม่มีหลักประกันเสริมสภาพคล่องระยะสั้น (กระแสทรรศน์ ฉบับที่ 3349)

แม้ยอดคงค้างเงินกู้ยืมของครัวเรือนจะขยับขึ้นสู่ระดับ 14.76 ล้านล้านบาทในไตรมาส 2/2565 แต่ก็มีอัตราการเติบโตที่ชะลอลงตลอดในช่วงหลายไตรมาสที่ผ่านมา โดยเฉพาะการชะลอตัวในส่วนของหนี้ที่เกิดจากสินเชื่อก้อนใหญ่ เช่น หนี้บ้าน หนี้ประกอบอาชีพ และหนี้รถ ... อ่านต่อ

27 กันยายน 2565

สถาบันการเงิน

คาดกนง. ทยอยปรับขึ้นดอกเบี้ยนโยบายอีกร้อยละ 0.25 มาอยู่ที่ระดับ 1.00% ท่ามกลางแรงกดดันจากค่าเงินบาทที่อ่อนค่าสุดในรอบ 16 ปี (มองเศรษฐกิจ ฉบับที่ 3979)

ในการประชุมกนง. ที่จะถึงนี้ คาดว่ากนง. จะปรับขึ้นดอกเบี้ยนโยบายที่ร้อยละ 0.25 มาอยู่ที่ระดับ 1.00% ท่ามกลางแรงกดดันจากเงินเฟ้อที่ยังอยู่ในระดับสูงและค่าเงินบาทที่อ่อนค่าอย่างต่อเนื่อง อย่างไรก็ดี กนง. คงจะยังทยอยปรับขึ้นดอกเบี้ยอย่างค่อยเป็นค่อยไปตามที่ได้ส่งสัญญาณไว้ก่อนหน้า ท่ามกลางเศรษฐกิจไทยที่ก... อ่านต่อ

21 กันยายน 2565

สถาบันการเงิน

เงินบาทแตะระดับอ่อนค่าสุดในรอบเกือบ 16 ปีครั้งใหม่ ... แรงกดดันสำคัญยังมาจากเรื่องดอลลาร์ฯ (กระแสทรรศน์ ฉบับที่ 3347)

เงินบาททดสอบแนว 37.20 บาทต่อดอลลาร์ฯ ซึ่งเป็นระดับอ่อนค่าสุดในรอบเกือบ 16 ปีครั้งใหม่ท่ามกลางสัญญาณการเร่งปรับขึ้นอัตราดอกเบี้ยนโยบายของธนาคารกลางสหรัฐฯ (เฟด) ... อ่านต่อ

13 กันยายน 2565

สถาบันการเงิน

สินเชื่อส่วนบุคคลดิจิทัล (Digital Personal Loan) …การเรียนรู้และปรับตัวของผู้ประกอบการ (กระแสทรรศน์ ฉบับที่ 3343)

ศูนย์วิจัยกสิกรไทย มองว่า ในปี 2565 การทำการตลาดสินเชื่อส่วนบุคคลดิจิทัลตามนิยามของธนาคารแห่งประเทศไทยที่ใช้ข้อมูลทางเลือก (Alternative data) ในการพิจารณาสินเชื่อ คงมีลักษณะของการ “ทยอยเติบโต” มากกว่า โดยมียอดคงค้างที่ไม่สูงมากนัก ประมาณ 7,920 – 8,500 ล้านบาท หรือคิดเป็นสัดส่วนเพียงร้อยละ 1 ของยอดคง... อ่านต่อ

8 สิงหาคม 2565

สถาบันการเงิน

การประชุมกนง. วันที่ 10 ส.ค. 65 คาดกนง. ปรับขึ้นดอกเบี้ยนโยบายที่ร้อยละ 0.25 ท่ามกลางแรงกดดันจากเงินเฟ้อที่ยังอยู่ในระดับสูง ขณะที่เศรษฐกิจไทยมีแนวโน้มฟื้นตัวได้อย่างต่อเนื่อง (มองเศรษฐกิจ ฉบับที่ 3977)

ในการประชุมกนง. ที่จะถึงนี้ คาดว่ากนง. จะปรับขึ้นดอกเบี้ยนโยบายที่ร้อยละ 0.25 มาอยู่ที่ระดับร้อยละ 0.75 ท่ามกลางแรงกดดันจากเงินเฟ้อที่ยังอยู่ในระดับสูง ขณะที่ เศรษฐกิจไทยมีแนวโน้มฟื้นตัวได้อย่างต่อเนื่อง จึงส่งผลให้กนง. มีแนวโน้มที่จะทยอยถอนคันเร่งทางเศรษฐกิจอย่างค่อยเป็นค่อยไป เศรษฐกิจไทยยังคงเผชิญ... อ่านต่อ

27 กรกฎาคม 2565

สถาบันการเงิน

หากแบงก์เลื่อนการปรับขึ้นดอกเบี้ย...ผลกระทบต่อระบบแบงก์ไทย (กระแสทรรศน์ ฉบับที่ 3338)

สัญญาณจากผลการประชุม กนง. เดือนมิ.ย. ที่ผ่านมา สะท้อนว่า ไทยคงเข้าใกล้จังหวะการเริ่มปรับขึ้นของอัตราดอกเบี้ยนโยบายแล้ว และจากแรงกดดันเงินเฟ้อของไทยที่อยู่ในระดับสูงทำให้น่าจะมีการปรับขึ้นดอกเบี้ยในช่วงที่เหลือของปีนี้และเพิ่มเติมอีกในช่วงต้นปี 2566 ... อ่านต่อ

26 กรกฎาคม 2565

สถาบันการเงิน

แนวโน้มการเงินเพื่อความยั่งยืน (Sustainable Finance) (กระแสทรรศน์ ฉบับที่ 3336)

การเงินเพื่อความยั่งยืนทั่วโลกมีการเจริญเติบโตอย่างก้าวกระโดด โดยตราสารหนี้เพื่อความยั่งยืนในปี 2021 มีมูลค่า 929,700 ล้านเหรียญสหรัฐฯ ซึ่งเติบโต 10 เท่าในช่วง 5 ปีที่ผ่านมา ในขณะมูลค่าสินเชื่อเพื่อความยั่งยืนในปี 2021 มีมูลค่า 716,561 ล้านเหรียญสหรัฐฯ หรือเติบโต 7 เท่าจากปี 2018 ขณะที่ประเทศไทย ณ ไ... อ่านต่อ

15 กรกฎาคม 2565

สถาบันการเงิน

แนวโน้มแบงก์ไทยช่วงครึ่งหลังของปี 2565...มีโจทย์ดูแลลูกหนี้กลุ่มเปราะบางภายใต้สถานการณ์ที่ดอกเบี้ยเริ่มขยับขึ้น (กระแสทรรศน์ ฉบับที่ 3331)

ศูนย์วิจัยกสิกรไทย ประเมินว่า รายได้จากธุรกิจหลักของธนาคารพาณิชย์ยังคงอ่อนแอในไตรมาสที่ 2/2565 โดยเฉพาะรายได้ที่มิใช่ดอกเบี้ยซึ่งถูกกดดันจากความเปราะบางของสภาพแวดล้อมทางเศรษฐกิจ และผลกระทบจากความผันผวนของตลาดทุนต่อพอร์ตการลงทุน ส่วนรายได้ดอกเบี้ยสุทธิและ NIM นั้น อาจขยับขึ้นเพียงเล็กน้อยตามการเติบโต... อ่านต่อ

13 มิถุนายน 2565

สถาบันการเงิน

ตลาดหุ้นกู้เอกชนปี 2565 เติบโตเตรียมรับจังหวะดอกเบี้ยขาขึ้น...คาดหุ้นกู้ระยะยาวมียอดออกรวมประมาณ 1.10-1.20 ล้านล้านบาท (มองเศรษฐกิจ ฉบับที่ 3972)

ศูนย์วิจัยกสิกรไทย ประเมินว่า ทิศทางคุมเข้มนโยบายการเงินเพื่อสกัดแรงกดดันเงินเฟ้อของธนาคารกลางสหรัฐฯ และธนาคารกลางชั้นนำอื่นๆ ในฝั่งตะวันตกและเอเชีย (ยกเว้น จีนและญี่ปุ่น) น่าจะมีจังหวะที่สอดคล้องกันมากขึ้นในช่วงครึ่งหลังของปี 2565 โดยธนาคารกลางที่มีแนวโน้มเริ่มปรับขึ้นอัตราดอกเบี้ยนโยบายตามมาในช่วง... อ่านต่อ

2 มิถุนายน 2565

สถาบันการเงิน

การประชุมกนง. คาดกนง. ยังคงดอกเบี้ยนโยบายที่ร้อยละ 0.5 ท่ามกลางเศรษฐกิจที่ยังเปราะบาง ขณะที่ ยังมองความเป็นไปได้ที่กนง. จะปรับขึ้นดอกเบี้ยนโยบายในไตรมาส 4/2565 (มองเศรษฐกิจ ฉบับที่ 3971)

ในการประชุมกนง. ที่จะถึงนี้ คาดว่ากนง. จะคงดอกเบี้ยนโยบายที่ร้อยละ 0.50 เพื่อสนับสนุนการฟื้นตัวทางเศรษฐกิจที่ยังฟื้นตัวไม่เต็มที่ อย่างไรก็ดี กนง. คงเผชิญความท้าทายมากขึ้นในการคงนโยบายการเงินแบบผ่อนคลายในระยะข้างหน้า ซึ่งยังมองความเป็นไปได้ที่กนง. จะปรับขึ้นดอกเบี้ยนโยบายในไตรมาส 4/ 2565 เศรษฐกิจไท... อ่านต่อ

1 เมษายน 2565

สถาบันการเงิน

หนี้ครัวเรือนไทยปี 2565 อาจชะลอลงมาที่กรอบ 86.5-88.5% ต่อจีดีพี...แต่ฐานะการเงินของภาคครัวเรือนยังอ่อนแอ (กระแสทรรศน์ ฉบับที่ 3318)

ยอดคงค้างหนี้ครัวเรือนไทยในปี 2564 เติบโต 3.9% ใกล้เคียงกับ 4.0% ในปี 2563 แต่เมื่อเทียบกับขนาดเศรษฐกิจที่ยังเติบโตช้า ทำให้สัดส่วนหนี้ครัวเรือนต่อจีดีพียังคงขยับสูงขึ้นมาที่ระดับ 90.1% ในปี 2564 จากระดับ 89.7% ในปี 2563 อย่างไรก็ดี สัดส่วนหนี้ครัวเรือนดังกล่าวยังคงเป็นระดับสูง และเป็นหนึ่งในปัญหาเ... อ่านต่อ

29 มีนาคม 2565

สถาบันการเงิน

การประชุมกนง. วันที่ 30 มี.ค. 65 คาดกนง. ยังคงดอกเบี้ยที่ 0.5% โดยกนง. น่าจะยังคงจะให้น้ำหนักต่อการฟื้นตัวทางเศรษฐกิจเป็นหลัก แม้มีความเสี่ยงด้านเงินเฟ้อเพิ่มสูงขึ้น (มองเศรษฐกิจ ฉบับที่ 3968)

ในการประชุมกนง. ที่จะถึงนี้ คาดว่ากนง. จะคงดอกเบี้ยนโยบายที่ 0.5% เพื่อสนับสนุนการฟื้นตัวทางเศรษฐกิจที่มีความเสี่ยงมากขึ้นจากวิกฤติความขัดแย้งระหว่างรัสเซียและยูเครน อย่างไรก็ดี กนง. คงเผชิญความท้าทายมากขึ้นในการรักษาเสถียรภาพด้านราคาท่ามกลางแรงกดดันเงินเฟ้อที่พุ่งสูงขึ้น ทั้งนี้ วิกฤติรัสเซีย-ยูเ... อ่านต่อ

24 มีนาคม 2565

สถาบันการเงิน

ทิศทางสินเชื่อทะเบียนรถปี 2565: ปูพรมลงตลาดล่าง (มองเศรษฐกิจ ฉบับที่ 3967)

สินเชื่อทะเบียนรถขยายตัวสูงท่ามกลางวิกฤตโควิด-19 จากธุรกิจในฝั่ง Non-Bank เป็นสำคัญ ซึ่งส่วนหนึ่งเป็นผลจากการแข่งขันของผู้ให้บริการที่เข้าสู่ตลาดเพิ่มขึ้น และการขยายฐานลูกค้าในตลาดล่างที่ครอบคลุมถึงกลุ่มทะเบียนรถจักรยานยนต์... อ่านต่อ

24 กุมภาพันธ์ 2565

สถาบันการเงิน

แนวโน้มธุรกิจประกันชีวิตปี 2565: โอกาสขยายกำลังซื้อใหม่ตามการฟื้นตัวของเศรษฐกิจ (กระแสทรรศน์ ฉบับที่ 3307)

ภาพรวมธุรกิจประกันชีวิตในปี 2564 กลับมาเป็นบวกได้เล็กน้อยหลังจากที่หดตัวลง 2 ปีติดต่อกัน โดยเป็นการเติบโตจากการผลักดันยอดขายกรมธรรม์รายใหม่ โดยเฉพาะประเภทจ่ายครั้งเดียว ขณะที่เบี้ยปีต่ออายุไม่โต ซึ่งแม้ว่าในปี 2565 ภาพรวมธุรกิจประกันยังอยู่ในช่วงการปรับฐานต่อเนื่องจากปีก่อน เนื่องจากมีกรมธรรม์ที่ครบ... อ่านต่อ

30 ธันวาคม 2564

สถาบันการเงิน

ครัวเรือนไทยก่อหนี้เพิ่มอย่างระมัดระวัง...ยอดคงค้างหนี้ครัวเรือน 3Q/2564 เติบโตในอัตราที่ชะลอลง (มองเศรษฐกิจ ฉบับที่ 3961)

จากข้อมูลเงินให้กู้ยืมแก่ภาคครัวเรือนล่าสุด สะท้อนว่า แม้ครัวเรือนไทยจะยังคงก่อหนี้เพิ่มขึ้น แต่ก็มีสัญญาณระมัดระวังมากขึ้นสอดคล้องกับสถานการณ์เศรษฐกิจที่ยังคงได้รับผลกระทบจากการระบาดของโควิด-19 โดยยอดคงค้างหนี้ครัวเรือนไทยในไตรมาส 3/2564 อยู่ที่ระดับ 14.35 ล้านล้านบาท ขยับขึ้นประมาณ 4.2% YoY เมื่อเ... อ่านต่อ

23 ธันวาคม 2564

สถาบันการเงิน

ธุรกิจธนาคารพาณิชย์ปี 2565...กับความท้าทายยุคโอมิครอน (กระแสทรรศน์ ฉบับที่ 3293)

ความไม่แน่นอนของสถานการณ์โควิด-19 กลับมาอีกครั้งในช่วงรอยต่อระหว่างปี 2564 เข้าสู่ปี 2565 ซึ่งปัจจัยดังกล่าวนอกจากจะเป็นตัวแปรที่มีผลต่อจังหวะการฟื้นตัวของเศรษฐกิจไทยแล้ว ยังมีนัยต่อเนื่องมายังการดำเนินธุรกิจของธนาคารพาณิชย์ในปี 2565 ด้วยเช่นกัน ซึ่งหากว่า ไทยสามารถตีกรอบควบคุมการระบาดของโอมิครอนได้... อ่านต่อ

16 พฤศจิกายน 2564

ตลาดการเงิน

เงินบาทแข็งค่า ขณะที่หุ้นไทยเคลื่อนไหวในกรอบแคบแต่ปรับขึ้นจากสัปดาห์ก่อน

เงินบาทแตะระดับแข็งค่าสุดในรอบ 2 เดือนที่ 32.73 บาทต่อดอลลาร์ฯ เงินบาทขยับแข็งค่าขึ้นเกือบตลอดสัปดาห์สอดคล้องกับสัญญาณเงินทุนไหลเข้า โดยเฉพาะตลาดพันธบัตรไทย (นักลงทุนต่างชาติซื้อสุทธิพันธบัตรไทยประมาณ 4.76 หมื่นล้านบาทระหว่างวันที่ 8-12 พ.ย.) ประกอบกับน่าจะมีอานิสงส์จากแรงขายเงินดอลลาร์ฯ ของกลุ่มผู้... อ่านต่อ

5 พฤศจิกายน 2564

สถาบันการเงิน

ประชุม กนง. 10 พ.ย. คาดยังคงดอกเบี้ยที่ 0.5% ท่ามกลางปัจจัยบวกทางเศรษฐกิจที่เพิ่มขึ้น (มองเศรษฐกิจ ฉบับที่ 3957)

ศูนย์วิจัยกสิกรไทยประเมินว่า ในการประชุมคณะกรรมการนโยบายการเงิน (กนง.) ในวันที่ 10 พ.ย. นี้ กนง. จะพิจารณาคงอัตราดอกเบี้ยนโยบายที่ 0.50% หลังจากเศรษฐกิจไทยมีปัจจัยบวกจากการเปิดประเทศและการคลายล็อกดาวน์อย่างต่อเนื่อง ซึ่งส่งผลให้กิจกรรมทางเศรษฐกิจภายในประเทศทั้งการบริโภคและการลงทุนมีแนวโน้มฟื้นตัวดีข... อ่านต่อ

5 พฤศจิกายน 2564

ตลาดการเงิน

เงินบาทและหุ้นไทยเคลื่อนไหวในกรอบผันผวนตลอดสัปดาห์

เงินบาทอ่อนค่าลงเมื่อเทียบกับเงินดอลลาร์ฯ โดยเงินบาทแกว่งตัวผันผวนตามจังหวะการลงทุนในตลาดหุ้นและพันธบัตรไทยของนักลงทุนต่างชาติในช่วงก่อนการประชุมเฟด แต่กลับมาเคลื่อนไหวในกรอบที่อ่อนค่าในช่วงที่เหลือของสัปดาห์ สอดคล้องกับสกุลเงินส่วนใหญ่ในภูมิภาค ขณะที่เงินดอลลาร์ฯ กลับมาได้รับแรงหนุนจากตัวเลขตลาดแรง... อ่านต่อ

29 ตุลาคม 2564

ตลาดการเงิน

เงินบาทแข็งค่าขึ้น ขณะที่หุ้นไทยร่วงลงทิศทางเดียวกับตลาดหุ้นภูมิภาค

เงินบาทเคลื่อนไหวในกรอบผันผวน แต่มีทิศทางแข็งค่าขึ้นเมื่อเทียบกับเงินดอลลาร์ฯ โดยเงินบาทขยับแข็งค่าขึ้นในช่วงต้นสัปดาห์สอดคล้องกับสถานะซื้อสุทธิพันธบัตรไทยของนักลงทุนต่างชาติ ขณะที่เงินดอลลาร์ฯ ขาดแรงหนุนหลังอัตราผลตอบแทนพันธบัตรรัฐบาลสหรัฐฯ ย่อตัวลงมาอยู่ต่ำกว่าระดับ 1.60% อย่างไรก็ดีเงินบาทอ่อนค่า... อ่านต่อ

22 ตุลาคม 2564

สถาบันการเงิน

มาตรการผ่อนคลายเพดาน LTV ถึงสิ้นปี 65...เปิดโอกาสการเติบโตให้กับธุรกิจและสินเชื่ออสังหาฯ หากโควิดคลี่คลาย (กระแสทรรศน์ ฉบับที่ 3280)

ศูนย์วิจัยกสิกรไทย มองว่า การผ่อนเกณฑ์การกำกับดูแลสินเชื่อเพื่อที่อยู่อาศัยและสินเชื่ออื่นที่เกี่ยวเนื่อง (มาตรการ LTV) โดยปรับเพดาน LTV เป็น 100% ชั่วคราวจนถึงสิ้นปี 2565 จะช่วยเพิ่มศักยภาพในการซื้อที่อยู่อาศัย ท่ามกลางสภาพแวดล้อมของตลาดที่อยู่อาศัยและการปล่อยสินเชื่อบ้านของสถาบันการเงินในช่วงที่เห... อ่านต่อ