26 พฤศจิกายน 2567
เศรษฐกิจไทย
... อ่านต่อ
FileSize KB
28 ตุลาคม 2567
25 กันยายน 2567
27 สิงหาคม 2567
26 กรกฎาคม 2567
21 มิถุนายน 2567
23 พฤษภาคม 2567
29 เมษายน 2567
26 มีนาคม 2567
22 มีนาคม 2567
23 กุมภาพันธ์ 2567
26 มกราคม 2567
26 ธันวาคม 2566
28 พฤศจิกายน 2566
25 ตุลาคม 2566
27 กันยายน 2566
25 สิงหาคม 2566
26 กรกฎาคม 2566
27 มิถุนายน 2566
30 พฤษภาคม 2566
26 เมษายน 2566
30 มีนาคม 2566
บรรยากาศเศรษฐกิจโลกที่ชะลอตัวกระทบภาพรวมการส่งออกไทยปี 2566 มีแนวโน้มหดตัวเพิ่มขึ้นที่ -1.2% ... อ่านต่อ
2 มีนาคม 2566
การชะลอตัวลงของเศรฐกิจโลกในช่วงครึ่งปีหลังของปี 2565 ได้ส่งแรงกดดันต่อเนื่องมายังต้นปี 2566 โดยเดือนมกราคม 2566 การส่งออกไทยหดตัวที่ -4.5 (YoY) หดตัวติดต่อกันเป็นเดือนที่ 4 โดยปัจจัยที่มีผลต่อการส่งออกไทยในเดือนมกราคม 2566 ได้แก่ การส่งออกไปยังตลาดคู่ค้าสำคัญส่วนใหญ่ยกเว้นยูโรโซนยังคงหดตัวโดยเฉพาะการส่งออกไปยังจีนที่หดตัว -11.4%(YoY) โดยการส่งออกสินค้าคอมพิวเตอร์และส่วนประกอบ และเม็ดพลาสติกไปยังจีนยังหดตัวต่อเนื่องตามอุปสงค์ที่ลดลง ทั้งนี้ ในเดือนมกราคม 2566 อาจยังไม่เห็นภาพอานิสงส์จากการเปิดประเทศจีนอย่างชัดเจน แต่ในระยะต่อไปคาดว่าการส่งออกไปยังตลาดดังกล่าวจะมีแนวโน้มปรับตัวดีขึ้นสะท้อนผ่านดัชนีผู้จัดการฝ่ายซื้อ (PMI) ภาคการผลิตของจีนจากสำนักงานสถิติแห่งชาติจีนในเดือนกุมภาพันธ์ 2566 ปรับตัวดีกว่าคาดที่ระดับ 52.6 ... อ่านต่อ
27 ธันวาคม 2565
การส่งออกไทยเดือนพฤศจิกายน 2565 ยังหดตัวต่อเนื่องที่ -6.0%(YoY) โดยหดตัวเป็นเดือนที่ 2 ติดต่อกัน ส่งผลให้ส่งออกไทย 11 เดือนแรกของปีเติบโตที่ 7.6%(YoY) ทั้งนี้ ส่งออกไทยตลอดปี 2565 คาดว่าจะเติบโตเป็นบวก ทำสถิติมูลค่าการส่งออกสูงสุดต่อเนื่องเป็นปีที่ 2 ซึ่งได้แรงส่งจากราคาพลังงานและสินค้าโภคภัณฑ์ที่เร่งตัวสูงในช่วงครึ่งปีแรก แต่ในช่วงครึ่งปีหลังการส่งออกชะลอตัวอย่างชัดเจนและน่าจะเป็นภาพต่อเนื่องในปีถัดไป... อ่านต่อ
23 ธันวาคม 2565
กระทรวงพาณิชย์สหรัฐฯ ได้เปิดเผยผลไต่สวนขั้นต้นว่า มีผู้ผลิตจากจีนบางรายได้ใช้ฐานการผลิตใน 4 ประเทศอาเซียนรวมถึงไทยเพื่อเลี่ยงมาตรการ AD/CVD ทำให้มีความเสี่ยงที่จะถูกเก็บอากรขาเข้าร้อยละ 16-254 แต่ได้คำสั่งคุ้มครองจากประธานาธิบดีสหรัฐฯ ถึงกลางปี 2567... อ่านต่อ
28 กันยายน 2565
ท่ามกลางความกังวลต่อภาวะเศรษฐกิจถดถอยที่เริ่มเพิ่มขึ้นในหลายประเทศ นำโดยสหรัฐฯ ในขณะที่เศรษฐกิจไทยเพิ่งจะอยู่ในช่วงเริ่มต้นของการฟื้นตัว... อ่านต่อ
6 มีนาคม 2563
สถานการณ์การระบาดของเชื้อไวรัสโคโรน่าสายพันธุ์ใหม่ หรือ โควิด-19 ยังส่อเค้าความรุนแรงและกระจายเป็นวงกว้างมากขึ้นทั่วโลก หลังจากยอดผู้ติดเชื้อนอกจีน โดยเฉพาะอย่างยิ่งในเกาหลีใต้ อิตาลี และอิหร่าน ที่เพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว โดยล่าสุดทั่วโลกมีผู้ติดเชื้อไวรัสโควิด-19 มากกว่า 90,000 คน ครอบคลุมมากกว่า 70 ประเทศทั่วโลก ... อ่านต่อ
19 สิงหาคม 2562
ภาพรวมเศรษฐกิจไทยในไตรมาสที่ 2 ปี 2562 ชะลอตัวลงต่ำสุดในรอบ 5 ปี อยู่ที่ร้อยละ 2.3 (ต่ำกว่าที่ตลาดคาดไว้ที่ร้อยละ 2.5 ต่อปี) ส่งผลให้ครึ่งปีแรก GDP ไทยขยายตัวร้อยละ 2.6 จากเศรษฐกิจโลกที่ชะลอตัวลง ค่าเงินบาทที่แข็งค่า ส่งผลต่อการส่งออกและท่องเที่ยวให้ชะลอลงจากไตรมาสก่อนหน้า ในขณะที่การใช้จ่ายครัวเรือนยังสามารถเป็นแรงหนุนต่อเศรษฐกิจได้แม้ว่าจะชะลอตัวลงบ้างก็ตาม... อ่านต่อ
22 ตุลาคม 2561
การส่งออกสินค้าของไทยในเดือนก.ย. 2561 พลิกกลับมาหดตัวครั้งแรกในรอบ 19 เดือน ส่วนหนึ่งมาจากการส่งออกทองคำที่หดตัวค่อนข้างมาก ซึ่งเมื่อหักมูลค่าส่งออกทองคำออกแล้ว การส่งออกสินค้าของไทยหดตัวน้อยลงมาอยู่ที่ -0.8% นอกจากนี้ ยังมีผลของปัจจัยอื่นๆ ทั้งเรื่องสภาพภูมิอากาศที่มีพายุไต้ฝุ่นเข้าในบางประเทศ รวมถึงประเด็นเรื่องข้อพิพาททางการค้าระหว่างสหรัฐฯ กับจีนที่ทยอยส่งผลกระทบต่อการส่งออกสินค้าไทยหลายประเภท โดยเฉพาะสินค้าส่งออกที่ไทยอยู่ในห่วงโซ่อุปทานการผลิตของจีน ซึ่งการส่งออกสินค้าของไทยที่อ่อนแรงลง เป็นไปในทิศทางเดียวกันกับตัวเลขการส่งออกสินค้าของประเทศในภูมิภาคที่ชะลอลงเช่นกัน ทั้งนี้ จากภาพการส่งออกของไทยในช่วง 9 เดือนแรกของปี 2561 นั้น มีมูลค่าเฉลี่ย 21,081 ล้านดอลลาร์ฯ ต่อเดือน หรือขยายตัวเฉลี่ย 8.1% ดังนั้น มูลค่าการส่งออกของไทยในช่วงไตรมาสสุดท้ายของปี 2561 จะต้องอยู่ที่เฉลี่ยเดือนละ 22,600 ล้านดอลลาร์ฯ หรือขยายตัวที่ 11.0% จึงจะทำให้การส่งออกของไทยทั้งปี 2561 ขยายตัวที่เฉลี่ย 8.8% ตามที่ศูนย์วิจัยกสิกรไทยได้ประเมินไว้ ท่ามกลางประเด็นข้อพิพาททางการค้า และทิศทางชะลอตัวลงของเศรษฐกิจจีน ซึ่งยังคงเป็นประเด็นที่ต้องติดตามต่อไป ... อ่านต่อ
6 กรกฎาคม 2561
ความผันผวนของเงินทุนไหลออกอย่างฉับพลันในระดับภูมิภาคเป็นผลมาจากการส่งสัญญาณเร่งจังหวะการขึ้นดอกเบี้ยของธนาคารกลางสหรัฐฯ ผนวกกับแรงกดดันด้านสงครามการค้า เมื่อประเด็นกังวลคลี่คลาย แรงกดดันด้านเงินทุนไหลออก น่าจะขึ้นกับปัจจัยเฉพาะตัวของแต่ละประเทศ โดยไทยซึ่งมีพื้นฐานเศรษฐกิจที่แข็งแกร่ง คงเผชิญกับการไหลออกของเงินทุนอย่างจำกัดในช่วงที่เหลือของปี 2561 ... อ่านต่อ
21 มิถุนายน 2561
ท่ามกลางความไม่แน่นอนในประเด็นข้อพิพาททางการค้าโลกในช่วง 2-3 เดือนที่ผ่านมา การส่งออกสินค้าไทยในเดือนพ.ค. 2561 ยังขยายตัวได้ในระดับสูงต่อเนื่องเป็นเดือนที่ 15 ที่ร้อยละ 11.4 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน หรือคิดเป็นมูลค่า 22,257 ล้านดอลลาร์ฯ หนุนให้ภาพรวมการส่งออกสินค้าไทยในช่วง 5 เดือนแรก (ม.ค.-พ.ค.) ของปี 2561 เติบโตร้อยละ 11.6 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน ศูนย์วิจัยกสิกรไทย มองว่า สงครามการค้าระหว่างสหรัฐฯ กับจีนอาจจะส่งผลพลอยได้บางส่วนมายังสินค้าส่งออกของไทยในช่วงที่เหลือของปี 2561 แต่ท้ายที่สุด คาดว่า ผลกระทบทางลบอาจจะเกิดขึ้นในปี 2562 ผ่านปริมาณการค้าโลกที่ลดลง อย่างไรก็ตาม หากสถานการณ์บานปลายไปมากกว่าการขึ้นภาษีในรอบนี้ ผลกระทบที่เกิดขึ้นอาจจะพลิกกลับมาเป็นลบได้ขึ้นอยู่กับรายการสินค้าที่จะเก็บภาษีนำเข้าเพิ่ม... อ่านต่อ
22 พฤษภาคม 2561
มูลค่าการค้าระหว่างประเทศของไทยในเดือนเม.ย. 2561 พลิกกลับมาขาดดุล 1,283 ล้านดอลลาร์ฯ นับเป็นการขาดดุลครั้งแรกของปี 2561 จากมูลค่านำเข้าสินค้าที่ขยายตัวสูงถึง 20.4% ส่วนหนึ่งมาจากราคาน้ำมันดิบในตลาดโลกที่พุ่งสูงขึ้น ประกอบกับมีการเร่งนำเข้าสินค้ามาผลิตเพื่อส่งออก ในขณะที่การส่งออกสินค้าของไทยขยายตัว 12.3% จากแรงส่งของการฟื้นตัวที่ต่อเนื่องของเศรษฐกิจประเทศคู่ค้า ประกอบกับราคาน้ำมันดิบโลกปรับตัวเพิ่มขึ้น หนุนมูลค่าส่งออกสินค้าที่เกี่ยวเนื่องกับปิโตรเลียมให้ขยายตัวสูงตามไปด้วย ... อ่านต่อ
21 พฤษภาคม 2561
เศรษฐกิจไทยในไตรมาสที่ 1/2561 ขยายตัวสูงสุดในรอบ 5 ปี ที่ร้อยละ 4.8 (YoY) จากแรงหนุนของการส่งออกและภาคการท่องเที่ยวที่ขยายตัวสูง ขณะที่การใช้จ่ายครัวเรือนเริ่มเห็นสัญญาณการเติบโตที่ดีขึ้นจากไตรมาสก่อนหน้า นอกจากนี้ ผลผลิตภาคเกษตรที่ขยายตัวเร่งขึ้นอย่างมากก็เป็นตัวหนุน GDP ที่สำคัญในไตรมาสนี้ การเติบโตของเศรษฐกิจไทยในไตรมาสที่ 1 น่าจะเป็นระดับที่สูงที่สุดของปี 2561 นี้ โดยในช่วงที่เหลือของปี GDP น่าจะยังคงรักษาระดับการเติบโตที่สูงกว่าร้อยละ 4.0 ต่อปี ในแต่ละไตรมาสไว้ได้ โดยตัวขับเคลื่อนหลักยังคงมาจากการส่งออกและรายได้จากการท่องเที่ยว ทั้งนี้ ศูนย์วิจัยกสิกรไทยประเมินภาพการเติบโตของเศรษฐกิจไทยในปี 2561 ว่ามีความเป็นไปได้สูงขึ้นที่จะขยายตัวเข้าใกล้กรอบบนของประมาณการเศรษฐกิจที่ร้อยละ 3.5-4.5 (ค่ากลางที่ร้อยละ 4.0)... อ่านต่อ
24 เมษายน 2561
การส่งออกสินค้าไทยในเดือนมี.ค. 2561 มีมูลค่าอยู่ที่ 22,363 ล้านดอลลาร์ฯ สูงสุดเป็นประวัติการณ์ หนุนการส่งออกในช่วงไตรมาสที่ 1/2561 ขยายตัวร้อยละ 11.3 นับเป็นการเติบโตรายไตรมาสที่สูงที่สุดในรอบ 7 ปี ศูนย์วิจัยกสิกรไทย มองว่า ผลการเจรจาต่อรองระหว่างสหรัฐฯ และจีนน่าจะออกมาในทิศทางที่ดี ซึ่งก็น่าจะทำให้ภาพการค้าโลกมีความผันผวนลดลง ส่งผลดีต่อทิศทางการส่งออกของไทยในช่วงที่เหลือของปี 2561 นอกจากนี้ เศรษฐกิจโลกที่ยังฟื้นตัวอย่างเข้มแข็ง และแนวโน้มราคาน้ำมันดิบดูไบเฉลี่ยในปี 2561 ที่คาดว่าจะอยู่สูงกว่าที่ประเมินไว้ จะเป็นปัจจัยช่วยหนุนภาพการส่งออกไทยในปี 2561 อาจเติบโตได้ถึงร้อยละ 7 ... อ่านต่อ
14 มีนาคม 2559
15 กุมภาพันธ์ 2559
17 พฤศจิกายน 2557
19 สิงหาคม 2556
28 กุมภาพันธ์ 2556
18 กุมภาพันธ์ 2556
28 ธันวาคม 2555
24 ตุลาคม 2555
31 สิงหาคม 2555
31 กรกฎาคม 2555
30 เมษายน 2555
28 มีนาคม 2555
20 ธันวาคม 2554
5 สิงหาคม 2554
30 ธันวาคม 2553
29 ตุลาคม 2553
19 มิถุนายน 2552
28 เมษายน 2552
18 มีนาคม 2552
19 กุมภาพันธ์ 2552
21 มกราคม 2552
23 ธันวาคม 2551
19 กันยายน 2551
21 สิงหาคม 2551