8 สิงหาคม 2567
อุตสาหกรรม
... อ่านต่อ
FileSize KB
20 กุมภาพันธ์ 2567
30 พฤษภาคม 2566
8 เมษายน 2566
7 เมษายน 2566
การปรับห่วงโซ่อุปทานใหม่ … เพิ่มต้นทุนและกดดันมาร์จิ้นธุรกิจกลุ่มอิเล็กทรอนิกส์ ... อ่านต่อ
27 มีนาคม 2566
ตลาดเครื่องดื่มไม่มีแอลกอฮอล์ปี’ 66 … เติบโตตามงบการตลาดและโฆษณา... อ่านต่อ
17 มีนาคม 2566
1 มีนาคม 2566
ยอดขาย BEV ปี 66 ในไทยอาจแตะ 5 หมื่นคัน (กระแสทรรศน์ ฉบับที่ 3384)... อ่านต่อ
19 ธันวาคม 2565
ปี 2565-2566 น้ำตาลทรายน่าจะเป็นหนึ่งผลิตภัณฑ์ที่ช่วยผลักดันการส่งออกสินค้าอาหารและเครื่องดื่มของไทย จากอานิสงส์ราคาน้ำตาลในตลาดโลกที่ยืนตัวสูง ปริมาณผลผลิตน้ำตาลทรายของไทยที่กลับมาฟื้นตัว ท่ามกลางสถานการณ์โควิดในหลายประเทศที่เริ่มคลี่คลายและวิกฤตอาหารทั่วโลก ที่ส่งผลให้น้ำตาลทรายยังคงเป็นที่ต้องการ อย่างไรก็ดี ยังมีความท้าทายจากอุปทานน้ำตาลทรายโลกที่ปรับเพิ่มขึ้น ส่งผลต่อระดับราคาน้ำตาลทรายโลกและราคาส่งออกน้ำตาลทรายของไทยที่อาจปรับลดลง การแข่งขันด้านราคาในตลาดการค้าน้ำตาลทรายโลก ข้อสรุปที่ยังไม่ชัดเจนของร่าง พ.ร.บ.อ้อยและน้ำตาลทรายฉบับใหม่ รวมถึงนโยบายและเทรนด์การบริโภคน้ำตาลของคู่ค้า ซึ่งจะมีผลต่อเนื่องถึงทิศทางการผลิตและส่งออกน้ำตาลทรายของไทยในระยะต่อไปได้... อ่านต่อ
29 สิงหาคม 2565
ศูนย์วิจัยกสิกรไทย มองว่า การปรับขึ้นค่าจ้างขั้นต่ำ 5% จากอัตราเดิม เริ่ม 1 ต.ค.65 จะมีผลต่อต้นทุนภาคอุตสาหกรรมในช่วงไตรมาสสุดท้ายของปีนี้และปีถัดไป โดยอาจทำให้ต้นทุนเพิ่มเฉลี่ยราว 0.5% และกระทบกำไรจากการดำเนินงานให้ลดลงเฉลี่ยราว 4.6%... อ่านต่อ
29 ธันวาคม 2564
จากการที่ภาครัฐอยู่ระหว่างพิจารณากำหนดแนวทางการจัดเก็บภาษีความเค็ม และคาดว่าน่าจะประกาศแนวทางปฏิบัติในปี 2565 เพื่อให้ผู้ประกอบการปรับปรุงการผลิต ก่อนจะกำหนดวันเริ่มบังคับใช้ในระยะต่อไป โดยพิจารณาความพร้อมของผู้ประกอบการและผู้บริโภค รวมถึงภาวะเศรษฐกิจประกอบด้วย โดยมีเป้าหมายเพื่อลดการบริโภคโซเดียมของคนไทยลง โดยการบริโภคโซเดียมเฉลี่ยของไทย อยู่ที่ 3,636 มิลลิกรัมต่อวัน สูงกว่าปริมาณที่องค์การอนามัยโลก (WHO) แนะนำในปริมาณไม่เกิน 2,000 มิลลิกรัมต่อวัน ถึงเกือบ 2 เท่า ซึ่งอาจเป็นหนึ่งในสาเหตุของโรคไม่ติดต่อเรื้อรังหลายชนิด คิดเป็นค่ารักษาพยาบาลรวมไม่ต่ำกว่า 1 แสนล้านบาทต่อปี หรือคิดเป็นสัดส่วนเกือบ 1 ใน 4 ของค่าใช้จ่ายด้านสุขภาพทั้งหมดของประเทศ (ประมาณ 4 แสนล้านบาท)... อ่านต่อ
4 ธันวาคม 2563
ศูนย์วิจัยกสิกรไทย คาดว่า ปี 2563 มูลค่าการส่งออกสินค้าอาหารและเครื่องดื่มของไทยไปตลาดโลกจะอยู่ที่ 24,900 ล้านเหรียญสหรัฐฯ ขยายตัวร้อยละ 3.0 (YoY) โดยมีกลุ่มสินค้าปศุสัตว์ (ไก่) ผลไม้ (สด/แช่แย็นแช่แข็ง) กลุ่มอาหารแปรรูป (อาหารทะเล/ผัก) เป็นแรงขับเคลื่อนที่สำคัญของการเติบโต สำหรับปี 2564 ความท้าทายยังเป็นเรื่องต่อเนื่องจากปีนี้คือ ความกังวลต่อภาวะเศรษฐกิจโลก โอกาสของการแพร่ระบาดซ้ำของ COVID-19 เงินบาทที่มีแนวโน้มจะแข็งค่าต่อเนื่อง ตลอดจนต้นทุนค่าขนส่งที่สูงขึ้น ส่วนสิ่งที่ต้องจับตาเพิ่มเข้ามาก็คือ ปริมาณสินค้ากลุ่มอาหารที่คาดว่าจะออกสู่ตลาดมากขึ้น บวกกับน้ำหนักของการกระจายการลงทุนออกสู่ภูมิภาคมากขึ้นของผู้ประกอบการรายใหญ่ ซึ่งจะมีส่วนต่อการเติบโตของการส่งออกอาหารและเครื่องดื่มของไทย เบื้องต้นคาดว่า มูลค่าการส่งออกอาหารและเครื่องดื่มของไทยปี 2564 น่าจะอยู่ที่ 25,150-26,150 ล้านเหรียญสหรัฐฯ ขยายตัวร้อยละ 1.0-5.0 (YoY)... อ่านต่อ
28 ตุลาคม 2563
ภายใต้สมมติฐานที่ในประเทศไทยไม่เกิดการระบาดซ้ำที่รุนแรงของโควิด ประกอบกับสถานการณ์การเมืองไม่ก่อให้เกิดอุปสรรคด้านการเบิกจ่ายงบประมาณของภาครัฐอย่างมีนัยสำคัญ ศูนย์วิจัยกสิกรไทย มองว่า ในปี 2564 อุตสาหกรรมหลักในไทยจะใช้เวลาในการฟื้นตัวจากผลกระทบของโควิด-19 แตกต่างกัน ตามระดับของผลกระทบและบางอุตสาหกรรมเผชิญโจทย์เฉพาะอื่นด้วย โดยเบื้องต้น คาดว่า 5 ใน 8 อุตสาหกรรมหลัก น่าจะสามารถพลิกเติบโตเป็นบวกได้ในปี 2564 จากฐานที่ต่ำในปี 2563 แต่ส่วนใหญ่แล้ว ขนาดของแต่ละอุตสาหกรรมจะยังไม่กลับไปสู่ระดับก่อนโควิดในปี 2562 ... อ่านต่อ
8 ตุลาคม 2563
เนื่องด้วยสภาวะการแข่งขันที่เข้มข้นขึ้นของภาคธุรกิจโทรคมนาคม ร่วมกับการลงทุนในโครงข่าย 5G ด้วยเม็ดเงินกว่า 1 หมื่นล้านบาท ส่งผลให้ผู้ประกอบการโทรคมนาคมไทยเร่งขยายฐานผู้ใช้บริการ 5G ผ่านการกระตุ้นผู้บริโภคผันมาใช้งานสมาร์ทโฟน 5G เพื่อปูทางสู่การใช้งานอินเทอร์เน็ต 5G โดยคาดว่าระยะเวลาในการเปลี่ยนผ่านจากเทคโนโลยี 4G ไปสู่ 5G น่าจะสะท้อนผ่าน 3 ปัจจัยหลัก ได้แก่ ปัจจัยด้านฟังก์ชันของสมาร์ทโฟน ปัจจัยด้านระดับราคาสมาร์ทโฟน 5G และปัจจัยด้านระบบนิเวศของสมาร์ทโฟน 5G ... อ่านต่อ
24 กรกฎาคม 2563
จากการประเมินดัชนี Environmental Performance Index (EPI) ของไทยในปี 2563 ปรับตัวดีขึ้นจากปี 2561 มาอยู่ที่ลำดับ 78 ของโลก แต่เมื่อพิจารณาตัวชี้วัดรายด้านและจากสถานการณ์ปัญหาด้านสิ่งแวดล้อมที่ส่งผลต่อชีวิตประจำวันและกิจกรรมทางเศรษฐกิจอย่างเห็นได้ชัดมากขึ้น บ่งชี้ว่าไทยยังต้องยกระดับการจัดการทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมอย่างต่อเนื่อง ... อ่านต่อ
7 มกราคม 2563
ปริมาณเครื่องบินในภูมิภาคเอเชียแปซิฟิกที่คาดว่าจะเพิ่มขึ้นอย่างมากในอนาคต ทำให้ความต้องการซ่อมบำรุงอากาศยานเพิ่มขึ้นมาก โดยเฉพาะสำหรับเครื่องบินลำตัวแคบ ทำให้มีแผนการลงทุนสำหรับตลาดเครื่องบินขนาดนี้ในหลายประเทศในภูมิภาค ดังนั้นเพื่อเพิ่มโอกาสในการแข่งขันของไทย ไทยจึงควรเน้นตลาดซ่อมบำรุงเครื่องบินลำตัวกว้าง และมุ่งเน้นการพัฒนาศักยภาพแรงงานด้านการซ่อมบำรุงทั้งจำนวนและคุณภาพในระยะอีกไม่กี่ปีข้างหน้า เพื่อรับมือกับการขาดแคลนแรงงานกลุ่มนี้ในอนาคตอันใกล้... อ่านต่อ
18 ตุลาคม 2562
ศูนย์วิจัยกสิกรไทย คาดว่า การส่งออกอาหารและเครื่องดื่มของไทยทั้งปี 2562 จะเติบโตร้อยละ 3.5 (YoY) หรือคิดเป็นมูลค่าราว 26,600 ล้านเหรียญสหรัฐฯ โดยได้รับแรงหนุนจากสินค้าส่งออกสำคัญในกลุ่มผลไม้สด-แช่แย็นแช่แข็ง สินค้าปศุสัตว์ (ไก่) ที่ขยายตัวสูงและยังเป็นที่ต้องการของคู่ค้าปลายทางสำคัญโดยเฉพาะตลาดจีนและอาเซียน ... อ่านต่อ
3 ตุลาคม 2562
ปัจจุบัน อุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์ไทยโดยรวมกำลังอยู่ในช่วงอิ่มตัว และมีบทบาทลดลงเรื่อยๆ ในห่วงโซ่อุปทานโลก ส่งผลให้ไทยจำเป็นต้องเร่งเปลี่ยนแปลงโครงสร้างอุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์ให้สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงของผลิตภัณฑ์เทคโนโลยีในตลาดโลก แทนที่จะพยายามกลับไปแข่งขันกับประเทศเพื่อนบ้านในด้านค่าแรงและผลิตภัณฑ์เดิมที่ไม่ก่อให้เกิดมูลค่าเพิ่มเท่าที่ควร โดยอาจต่อยอดจากจุดแข็งและความพร้อมของไทยที่ยังคงเป็นฐานผลิตหลักของผลิตภัณฑ์ที่ยังคงมีแนวโน้มเติบโตในตลาดโลกอย่างรถยนต์และเครื่องใช้ไฟฟ้า ซึ่งอยู่ระหว่างการเปลี่ยนผ่านเทคโนโลยีสู่รถยนต์ไฟฟ้าและเครื่องใช้ไฟฟ้า IoT ทั้งนี้ การยกระดับห่วงโซ่อุปทานสู่เทคโนโลยีใหม่ดังกล่าว จะส่งผลให้การขยายตัวของการส่งออกสินค้าอิเล็กทรอนิกส์ไทยพลิกกลับมาเป็นบวกได้ที่ร้อยละ 0.2 ในปี 2565 คิดเป็นมูลค่าส่งออกส่วนเพิ่มราว 1,298 ล้านดอลลาร์ฯ จากที่คาดว่าจะติดลบต่อเนื่องในช่วงดังกล่าว... อ่านต่อ
18 กรกฎาคม 2562
การเติบโตของตลาดรถยนต์ไฟฟ้าโลกในปัจจุบันซึ่งนำมาสู่การปรับโครงสร้างห่วงโซ่อุปทานของค่ายรถญี่ปุ่นสู่การใช้กลยุทธ์การกระจายห่วงโซ่อุปทานในแนวนอนด้วยการจับมือกับพันธมิตรเพื่อพัฒนาแพลทฟอร์มร่วมนั้น ส่งผลดีต่อผู้ผลิตชิ้นส่วนรถยนต์โดยรวมของไทยในระยะช่วง 10 ปีแรก ที่ตลาดรถยนต์ส่วนใหญ่ยังเป็นรถยนต์ที่ต้องใช้เครื่องยนต์เป็นหลักในการขับเคลื่อน ทั้งนี้เป็นผลจากการลงทุนเพื่อผลิตรถยนต์ HEV และ PHEV ที่มีทิศทางเพิ่มขึ้นมากในไทย ทำให้ผลกระทบต่อความต้องการชิ้นส่วนเกี่ยวกับเครื่องยนต์ยังมีไม่มาก... อ่านต่อ
15 พฤษภาคม 2562
อุตสาหกรรมการผลิตรถจักรยานยนต์โดยรวมของไทยเข้าสู่ภาวะอิ่มตัวทั้งตลาดในประเทศและการส่งออก อย่างไรก็ตาม Big Bike ในไทยกลับเดินสวนทาง รวมถึงยังมีการทยอยเข้ามาลงทุนของค่าย Big Bike รายใหญ่ของโลกอย่างต่อเนื่อง ผลักดันทำให้ไทยกลายมาเป็นประเทศผู้ผลิตและส่งออก Big Bike ที่สำคัญแห่งหนึ่งของโลก ทั้งนี้ ศูนย์วิจัยกสิกรไทยคาดว่าในปี 2562 การส่งออก Big Bike ของไทยไปทั่วโลกมีโอกาสขยายตัวได้กว่าร้อยละ 10 โดยเอเชียจะเป็นตลาดที่มีโอกาสเติบโตสูงสุดด้วยอัตราการขยายตัวกว่าร้อยละ 20 ซึ่งในปัจจุบันเอเชียเริ่มเข้ามามีบทบาทมากยิ่งขึ้นเรื่อยๆในตลาด Big Bike โลกตามการขยายตัวของภาวะเศรษฐกิจในภูมิภาค โดยในระยะ 3 ปีหลังจากนี้ ศูนย์วิจัยกสิกรไทยมองว่า Big Bike รุ่นเล็ก (251 ถึง 500 ซีซี) จะเป็นรุ่นที่ก้าวขึ้นมามีบทบาทสำคัญสำหรับการส่งออกของไทยไปเอเชียแซงหน้ารุ่นอื่นๆ เนื่องจากปัจจัยราคาที่เอื้อมถึงได้เหมาะกับผู้ซื้อ Big Bike หน้าใหม่จำนวนมากที่นับวันจะมีแต่เพิ่มขึ้นเรื่อยๆในภูมิภาคนี้... อ่านต่อ
19 ตุลาคม 2561
ตลาดสินทรัพย์ดิจิทัลปัจจุบัน มีลักษณะแตกต่างจากตลาดสินทรัพย์ทั่วไปอย่างมาก โดยตลาดสินทรัพย์ดิจิทัลขาดสภาพคล่องในการซื้อขาย และมีผู้นำตลาดที่ครองส่วนแบ่งตลาดเกินครึ่ง ซึ่งทำให้มีความผันผวนมากกว่าสินทรัพย์ประเภทอื่นอย่างชัดเจน ปัจจัยที่ส่งผลต่อราคาสินทรัพย์ดิจิทัล มีทั้งกลุ่มที่กระทบต่อตลาดโดยรวม และในลักษณะเฉพาะเจาะจงกับสินทรัพย์ดิจิทัลแต่ละตัว ซึ่งที่สำคัญคือ ปัจจัยด้านการพัฒนาเทคโนโลยี นักลงทุนรายย่อยควรจับตามองข่าวความคืบหน้าการพัฒนาเทคโนโลยีรองรับสินทรัพย์ดิจิทัลที่ตนคิดจะลงทุน และควรคำนึงถึงประเด็นสภาพคล่องในการซื้อขายก่อนการลงทุน ... อ่านต่อ
25 กันยายน 2561
เมื่อวันที่ 11 กันยายน 2561 ครม.ลงมติเห็นชอบในหลักการ ร่าง พ.ร.บ. Digital ID จัดตั้งคณะกรรมการกำกับดูแลการพิสูจน์และยืนยันตัวตนทางดิจิทัล การร่าง พ.ร.บ. Digital ID ปูทางสำหรับการพิสูจน์และยืนยันตัวตนทางดิจิทัลอย่างเต็มรูปแบบ ซึ่งมีแนวโน้มจะส่งผลเชิงบวกในหลากหลายอุตสาหกรรม เช่น การเงินการธนาคาร และสุขภาพ ขณะเดียวกัน คาดว่าจะช่วยภาครัฐประหยัดต้นทุนได้ถึง 127 ล้านบาทในปีแรก ... อ่านต่อ
7 กันยายน 2561
ตลาดขนมไหว้พระจันทร์ปี 2561 คาดว่าจะมีมูลค่าประมาณ 930 ล้านบาทเพิ่มขึ้นร้อยละ 3.3 (YoY) จากที่ทรงตัวในปี 2560 โดยความต้องการซื้อเพื่อกิน/เป็นของฝาก ซึ่งมีมูลค่าต่อชิ้นสูง เนื่องจากการออกแบบรสชาติและบรรจุภัณฑ์ที่แตกต่าง ทรงคุณค่า กำลังมีบทบาทมากขึ้น ทดแทนการซื้อไปไหว้ตามประเพณีที่ถูกตัดทอนให้เหลือเท่าที่จำเป็นตามกาลเวลาที่เปลี่ยนแปลงไป... อ่านต่อ
11 มิถุนายน 2561
ศูนย์วิจัยกสิกรไทย คาดว่า ในช่วงมหกรรมกีฬาฟุตบอลโลก 2018 น่าจะมีเม็ดเงินโฆษณาสะพัดเพิ่มเติมจากในช่วงปกติรวมกันประมาณ 680 ล้านบาท หรือคิดเป็นการขยายตัวร้อยละ 9 จากในช่วงปกติ หรือในกรณีที่ไม่มีการแข่งขันฟุตบอลโลก ส่งผลให้เม็ดเงินโฆษณาในช่วงมหกรรมกีฬาฟุตบอลโลก 2018 โดยรวมน่าจะสะพัดอยู่ที่ 7,980 ล้านบาท โดยเม็ดเงินโฆษณาที่สะพัดเพิ่มเติมจากในช่วงปกติรวมกันประมาณ 680 ล้านบาทดังกล่าว แบ่งเป็นเม็ดเงินโฆษณาทางโทรทัศน์ประมาณ 600 ล้านบาท และเป็นเม็ดเงินโฆษณาทางสื่ออื่นๆ อย่างสื่อสิ่งพิมพ์ สื่อโฆษณานอกบ้าน และสื่อออนไลน์ รวมกันอีกประมาณ 80 ล้านบาท ซึ่งนับเป็นสีสันให้กับสื่อโฆษณาในช่วงระยะเวลาสั้นๆ... อ่านต่อ
13 ธันวาคม 2560
ศูนย์วิจัยกสิกรไทย มองว่า มติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 4 ธันวาคม 2560 ซึ่งเห็นชอบกับการแก้ไขกฎหมายเกี่ยวกับอ้อยและน้ำตาล โดยลดการอุดห... อ่านต่อ
13 มีนาคม 2560
นับเป็นสัญญาณที่ดีหลังจากที่สำนักงานการบินพลเรือนแห่งประเทศไทย (กพท.) ได้ออกใบรับรองผู้ดำเนินการเดินอากาศใหม่ (AOC) ให้กับสายการบินพาณิชย์รายแรก เมื... อ่านต่อ
8 เมษายน 2557
7 พฤษภาคม 2556
28 มกราคม 2556
7 ธันวาคม 2555
20 กันยายน 2555
15 มีนาคม 2555
8 มีนาคม 2555
17 กุมภาพันธ์ 2555
20 ธันวาคม 2554
25 พฤศจิกายน 2554
3 พฤศจิกายน 2554
27 กรกฎาคม 2554
20 พฤษภาคม 2554
13 พฤษภาคม 2554
1 เมษายน 2554
2 กุมภาพันธ์ 2554
31 มกราคม 2554
15 ตุลาคม 2553
13 ตุลาคม 2553
30 สิงหาคม 2553
29 กันยายน 2552
7 สิงหาคม 2552
29 มิถุนายน 2552
8 มิถุนายน 2552
20 พฤษภาคม 2552
6 พฤษภาคม 2552
10 เมษายน 2552
4 มีนาคม 2552
16 กุมภาพันธ์ 2552
30 มกราคม 2552
19 มกราคม 2552
16 มกราคม 2552
5 มกราคม 2552
16 ธันวาคม 2551
27 พฤศจิกายน 2551
26 พฤศจิกายน 2551
13 พฤศจิกายน 2551
24 ตุลาคม 2551
20 ตุลาคม 2551
15 ตุลาคม 2551
12 มิถุนายน 2551
4 มิถุนายน 2551
20 พฤษภาคม 2551
15 พฤษภาคม 2551
8 พฤษภาคม 2551
17 มีนาคม 2551
8 มกราคม 2551
28 ธันวาคม 2550
7 ธันวาคม 2550
9 พฤศจิกายน 2550
26 ตุลาคม 2550
8 สิงหาคม 2550
19 กรกฎาคม 2550
15 มิถุนายน 2550
25 พฤษภาคม 2550
1 ธันวาคม 2549
3 พฤศจิกายน 2549
21 สิงหาคม 2549
10 พฤษภาคม 2549
28 เมษายน 2549
24 กุมภาพันธ์ 2549
20 ธันวาคม 2548
18 ตุลาคม 2548
4 สิงหาคม 2548
29 มิถุนายน 2548